Page 141 - 0 ส่วนปก_001 Design Theory 1_58
P. 141

120

ทอี่ ยู่ปจั จุบัน  Frequency                                               Percent (%)
   รวม                 86                                                    100.0%

      จากตารางที่ 4.2.2.1-2 ทอ่ี ยู่อาศัยปจั จบุ ันของกล่มุ ตัวอยา่ งผู้ทจี่ ะเขา้ สู่วยั สูงอายุ พบว่า เปน็
ผู้ที่อาศัยอยูใ่ นกรงุ เทพมหานครฯ มากท่ีสุด (ร้อยละ 50) รองลงมาคือ ลาปาง (ร้อยละ 29.1) และ
นนทบรุ ี (ร้อยละ 17.4)

ตารางท่ี 4.2.2.1-3 สถานภาพของกลมุ่ ตัวอย่างผูท้ จี่ ะเขา้ สวู่ ัยสงู อายุ

สถานภาพ            Frequency                                               Percent (%)

โสด 12 14.0

แต่งงาน            58 67.4

หม้าย 12 14.0

หย่าร้าง           4 4.7

รวม 86 100.0

      จากตารางที่ 4.2.2.1-3 สถานภาพของกลุ่มตัวอย่างผู้ท่ีกาลังจะเข้าสู่วัยสูงอายุ พบว่า
เกินคร่ึงหน่ึงมีสถานะแต่งงานแล้ว (ร้อยละ 67.4) รองลงมาคือ โสดและหม้าย (อย่างละร้อยละ
14.0)

ตารางท่ี 4.2.2.1-4 ระดบั การศกึ ษาของกลมุ่ ตัวอย่างผทู้ ี่จะเข้าสู่วยั สงู อายุ

การศึกษา           Frequency                                               Percent (%)

ไม่ได้ศกึ ษา       0                                                             0

ประถมศกึ ษา 17 19.8

มธั ยมศึกษาตอนต้น  4                                                             4.7

มัธยมศึกษาตอนปลาย  8                                                             9.3

ปริญญาตรี          26 30.2

สูงกว่าปรญิ ญาตรี  21                                                      24.4

สายอาชพี (ปวช.)    1                                                             1.2

สายอาชีพ (ปวส.)    8                                                             9.3

อ่ืน ๆ 1 1.2

รวม 86 100.0

      จากตารางที่ 4.2.2.1-4 ระดับการศึกษาของกลุ่มตัวอย่างผู้ที่กาลังจะเข้าสู่วยั สงู อายุ พบว่า
มกี ารศึกษาระดับปริญญาตรมี ากทส่ี ุด (ร้อยละ 30.2) รองลงมาคอื สงู กว่าปริญญาตรี (รอ้ ยละ 24.4)
และ ประถมศกึ ษา (ร้อยละ19.8)
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146