Page 44 - 0 ส่วนปก_001 Design Theory 1_58
P. 44
24
14.5 16.0 15.3 . .2 8
12.3 13.0 . .2 83
12.0
11.2 9.2 8.6 10.4
6.9 5.5 5.3 5.4 5.7 6.6
3.2 3.7
2.4 2.4
ทย
บรู น
กัม ูชา
อินโดนีเ ีย
ลาว
มาเลเ ีย
เ ีมยนมาร
ลิปปนส
สิงคโปร
เ ีวยดนาม
แผนภูมทิ ี่ 2.1.1-3 อัตราสว่ นการเกอื้ หนุนผสู้ งู อายุ (Potential Support Ratio) ของประเทศ
ตา่ ง ๆ ในอาเซยี น พ.ศ.2558 และ พ.ศ.25836
(แผนภูมิที่ 2.1.1-2 และและแผนภูมิท่ี 2.1.1-3 ดัดแปลงมาจาก: วิราภรณ์ โพธิศิริ และคณะ, อ้างถึงใน รายงาน
ประจาปี สถานการณผ์ ูส้ ูงอายไุ ทย พ.ศ.2555, p.37)
จากสถานการณ์การเปล่ียนแปลงทางประชากรผู้สูงอายุดังกล่าวข้างต้น แสดงให้เห็นถึง
ความสาคัญของการวิจัยคร้ังนี้ เพื่อการเตรียมความพร้อมด้านการออกแบบสภาพแวดล้อมทาง
กายภาพภายในชมุ ชนทอ่ี ยอู่ าศัยเพือ่ รองรับสังคมผู้สงู อายขุ องไทยทจ่ี ะมาถึงในอนาคตอนั ใกลน้ ี้
จากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว จะสง่ ผลให้วัยพงึ่ พิงมีแนวโน้มท่จี ะเพม่ิ ขน้ึ ทั้งการพ่ึงพงิ ทาง
เศรษฐกจิ สงั คม สขุ ภาพและอ่ืน ๆ โดยสามารถสรุปผลที่จะเกิดขน้ึ ได้ ดงั นี้
1) อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดของประชากรจะเพมิ่ ข้ึน ทาให้ประชากรหญงิ มอี ายคุ าดเฉลี่ย
ท่ี 82 ปี ในปี พ.ศ. 2583 (จากเดมิ 78 ปี ในปี พ.ศ.2553) และประชากรชายมีอายคุ าดเฉล่ยี ท่ี 77 ปี
ในปี พ.ศ. 2583 (จากเดิม 71 ปี ในปี พ.ศ.2553) ทาใหส้ ัดส่วนผู้สูงอายุเพศหญิงจะมากกว่าเพศชาย
เน่อื งจากเพศหญงิ มีอายเุ ฉลีย่ ยนื ยาวกว่าเพศชาย
2) สัดสว่ นประชากรสูงอายุของไทยในเขตเมืองจะเพิ่มมากข้ึนกวา่ ในเขตชนบท
6 รายงานประจาปี สถานการณผ์ สู้ ูงอายไุ ทย พ.ศ.2555, หนา้ 38
แหล่งข้อมลู : Population Division of the Department of Economic and Social Affairs of the United Nations
Secretariat, World Population Prospects: The 2012 Revision
(http://esa.un.org/unpd/wpp/index.htm)