Page 145 - ebook.msu.ac.th
P. 145
ก�รฟื้นฟูก�รเรียนก�รสอนเก่ยวกับอักษรโบร�ณ
ี
และวรรณคดีอีส�น
จากการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์และการ
ค้นคว้าเอกสารพบว่า มีกระแสของการศึกษาเรื่องของท้องถิ่น
ึ
ำ
โดยการนาของสถาบันการศึกษาในประเทศไทย ซ่งใน พ.ศ.
้
ิ
ื
ี
ึ
่
ิ
๒๔๙๘ เรมมการศกษา Folklore หรอคตชาวบาน
ในวิทยาลัยวิชาการศึกษา
ำ
พ.ศ. ๒๕๑๒ มีการสอนในรายวิชาคติชนวิทยา จนนา
ื
ู
ี
ไปส่การระดมศึกษาเร่องราวเก่ยวกับคติชนและวรรณคดีอีสาน
ทาให้เกิดการต้ง ศูนย์วรรณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ข้นใน
ั
ึ
ำ
วัดมหาชัย นำาโดยนักวิชาการที่ศึกษาในเรื่องคติชนจากหลาย
สถานศึกษาให้การสนับสนุนพระอริยานุวัตร และนิมนต์ท่านไป
ู
ี
ี
บรรยายความร้เก่ยวกับคติชนและวรรณคด (พรชัย ศรีสารคาม,
๒๕๕๒ : สัมภาษณ์)
ใน พ.ศ. ๒๕๑๓ ได้จัดต้งศูนย์อนุรักษ์วรรณคด ี
ั
ึ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือข้นท่วัดมหาชัย วัตถุประสงค์เพ่อ
ี
ื
ั
้
็
่
้
้
ึ
ั
รวบรวมหนงสือใบลานซงอยตามวด ใหเปนแหลงคนควา
ู
่
่
พระคัมภีร์ทางพุทธศาสนา ศึกษาตัวอักษรโบราณและวรรณคด ี
ของภาคอีสาน ชำาระตรวจแก้ถอดความเข้าสู่ภาษาปัจจุบัน
ำ
พ.ศ. ๒๕๑๙ รับนิมนต์เป็นอาจารยประจา เวลา
์
๑๓.๐๐ – ๑๕.๐๐ น. ให้กับ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มหาสารคาม โดยจัดอาคาร ๓ ห้อง ๓๓๘ เป็นห้องพัก
โดยให้คำาปรึกษาทางวิชาการในรายวิชาต่าง ๆ ดังนี้ วรรณคดี
พุทธศาสนา วรรณคดีประเพณี วรรณคดีท้องถิ่น คติชาวบ้าน
ประวัติศาสตร์อีสาน ภาษาถิ่นและพุทธศาสนา
145
144 ๑ ๐ ๐ ปี ช า ต ก า ล
๑ ๐ ๐ ปี ช า ต ก า ล