Page 209 - ebook.msu.ac.th
P. 209
ี
ั
ี
ิ
้
้
ั
ั
ั
พระศรวชรโมล) รกษาการเจาอาวาสวดมหาชยในขณะนน
ได้ต้งใจท่จะสืบทอดเจตนารมณ์ของท่านเจ้าคุณพระอริยานุวัตร
ี
ั
เล็งเห็นความสาคัญของพิพิธภัณฑ์แห่งน เพ่อให้ฟ้นกลับมาเป็น
ำ
ื
ื
ี
้
ี
ั
ท่ร้จักของคนท่วไปเหมือนสมัยท่ท่านเจ้าคุณพระอริยานุวัตร
ู
ี
่
ู
ื
ำ
ยังมีชีวิตอย จึงได้ทาหนังสือถึงมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพ่อขอ
ความอนุเคราะห์จัดส่งเจ้าหน้าท่เข้าไปจัดระบบเอกสารใบลาน
ี
และจัดเก็บเอกสารโบราณต่าง ๆ มหาวิทยาลัยจึงได้ส่งเจ้าหน้าท ่ ี
ี
ท่ทางานเก่ยวกับด้านพิพิธภัณฑ์เข้าไปจัดระบบวัตถุโบราณ
ี
ำ
ื
ในเบ้องต้น และได้ส่งเจ้าหน้าท่ของโครงการอนุรักษ์ใบลานฯ
ี
ไปจัดระบบเกี่ยวกับเอกสารใบลานในเบื้องต้น
ั
หลังจากน้นรองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ ประธาน
โครงการอนุรักษ์ใบลานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัย
ำ
มหาสารคาม ได้ดาเนินการฟ้นความมีชีวิตให้กับพิพิธภัณฑ ์
ื
วัฒนธรรมท้องถิ่นแห่งนี้ เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ทางด้านศิลป
วัฒนธรรม โบราณคดี อักษรศาสตร์ วรรณคดี ประเพณีเกี่ยว
กับภาคอีสานทุกแขนง จึงได้เขียน “โครงการฟื้นฟูพิพิธภัณฑ์
วัฒนธรรมท้องถ่นภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดมหาชัย” ข้น
ิ
ึ
ื
เพ่อเสนอหน่วยงานและบุคคลต่าง ๆ ท่เก่ยวข้องท้งสมาชิก
ั
ี
ี
ู
วุฒิสภา สมาชิกสภาผ้แทนราษฎร ตลอดถึงต้นตระกูลเจ้าเมือง
ี
ึ
ู
ี
ท่สร้างวัดมหาชัย และผ้สนใจท่วไป ซ่งโครงการน้เป็นโครงการ
ั
ต่อเนื่องระยะยาว และใช้งบประมาณมาก จึงยังไม่ได้รับการ
สนับสนุน
อย่างไรก็ตามด้านคัมภีร์ใบลานน้นระหว่างปีพ.ศ.
ั
๒๕๔๖-๒๕๔๗ โครงการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน มหาวิทยาลัย
ี
มหาสารคาม ได้สารวจและจัดระบบให้แก่วัดต่าง ๆ ท่ยังมีใบลาน
ำ
ำ
ู
ในทุกอาเภอของจังหวัดมหาสารคาม ยังขาดอย่แหล่งเดียว
2๐๙
2๐๘ ๑ ๐ ๐ ปี ช า ต ก า ล
๑ ๐ ๐ ปี ช า ต ก า ล