Page 3 - ebook.msu.ac.th
P. 3
ก
ค ำน ำ
เอกสารการศึกษาต ารายาสมุนไพรในเอกสารโบราณฉบับนี้ ต้องการให้ผู้เรียนตระหนักถึงคณค่า
ุ
ความส าคัญของต ารายาสมุนไพรในเอกสารโบราณเป็นหลัก ซึ่งบันทึกต ารายาแต่ละประเภท เช่น จารึก ใบ
ลาน สมุดไทย สมุดฝรั่งและอื่น ๆ ได้ รวมถึงการความรู้ความเข้าใจภาษาและตัวอักษรที่ปรากฏใช้ในเอกสาร
ั
โบราณอีสาน โดยมุ่งเน้นที่ใบลานสั้นหรือลานก้อม จดจ าตัวอักษรโบราณ ได้แก่ อักษรขอม อกษรธรรมล้านนา
อักษรธรรมล้านช้าง (อีสาน) และอกษรไทยน้อย เรียนรู้ประวัติและการใช้ตัวอักษร อักขรวิธีที่ใช้ในการสะกด
ั
ค าของตัวอักษรแต่ละประเภท สามารถเข้าใจและประยุกต์ใช้หลักการปริวรรตและการวิเคราะห์ต ารายาจาก
เอกสารโบราณเบื้องต้น โดยในเล่มนี้จะใช้ส าเนาภาพจากเอกสารใบลานเป็นตัวอย่างในการปฏิบัติการปริวรรต
ได้แก ่
1) ส าเนาภาพใบลานต ารายาอักษรธรรมล้านช้าง (อีสาน) ได้รับความอนุเคราะห์จาก คุณยาย
จิตรดา รัตนพันธุ์ 23/6 ถนนถีนานนท์ ต าบลตลาด อาเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม จ านวน 1 ผูก 87 หน้า
ลาน
2) ส าเนาภาพใบลานต ารายาอักษรไทยน้อย จากกลุ่มงานอนุรักษ์เอกสารโบราณ สถาบันวิจัย
ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม สมบัติวัดมหาชัย พระอารามหลวง จ านวน 35 หน้าลาน
รหัสมัดที่ AMPRINACS19009; TMKF-MKM-008-BL0009-004
ั
3) ส าเนาภาพต ารายาอกษรไทยโบราณ จากกลุ่มงานอนุรักษ์เอกสารโบราณ สถาบันวิจัย
ศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จ านวน 15 หน้าลาน รหัสมัดที่ AMPRINACS19014
ทั้งนี้ได้ผู้เขียนได้น าเสนอรูปแบบอนุกรมศัพท์โรคและต ารับยาที่ปรากฏในเอกสารโบราณ โดยปรับปรุง
จากขอมูลของรองศาสตราจารย์วีณา วีสเพ็ญ ในรายงานการวิจัย เรื่อง ภูมิปัญญาพื้นบ้านอีสานจาก
้
วรรณกรรมต ารายา ของ ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และ
โครงการอนุรักษ์ใบลานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ปี 2550 ใน หน้า 148-161
จ านวน 25 กลุ่มโรค สุดท้ายคือการน าเสนอตัวอย่างต ารายา (ภาคแปลปริวรรต) โดยใช้รูปแบบการถ่ายถอด
ครั้งเดียวเป็นค าอ่านปัจจุบัน และ ตัวอย่างต ารายา (ภาคจัดเรียงอนุกรม ก-ฮ) ซึ่งได้มาจากเอกสารใบลานสั้น
อักษรธรรมได้รับความอนุเคราะห์สมบัติคุณยายจิตรดา รัตนพันธุ์ และ ส าเนาภาพใบลานต ารายาอักษรไทย
น้อย รหัส AMPRINACS19009; TMKF-MKM-008-BL0009-004 จากกลุ่มงานอนุรักษ์เอกสารโบราณ
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพื่อใช้เป็นวิทยาทานแก่ผู้เรียน ในเล่มนี้
ได้รับความอนุเคราะห์พิสูจน์อกษรตรวจสอบรายชื่อสมุนไพรต่าง ๆ จากอาจารย์ ดร. เภสัชกร ณัฐพงษ์ วิชัย
ั
จากคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ผู้เขียนจึงขอบพระคุณมา ณ โอกาสนี้
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารการศึกษาต ารายาสมุนไพรในเอกสารโบราณฉบับนี้จะเกิดประโยชน์แก่
ผู้สนใจไม่มากก็น้อย หากขาดตกบกพร่องประการใด กระผมในนามผู้เรียบเรียง ขออภัยและขอใช้ส านวนความ
ุ
ค าของปราชญ์เก่าชาวอสานที่ท่านได้กล่าวออกตัวไว้ในเอกสารใบลานล าพทธนรกัน สมบัติวัดบ้านกระยอม
ี
ต าบลหนองแสง อ าเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม ที่ว่า
“เก กา ซ้าย
ลืมเสียบ่ได้ใส่
ตัวใดตกให้ยอ
ตัวใดบ่พอให้หาใส่ แด่เทอญ”