Page 78 - ปฏิบัติการ Lab Bilology II
P. 78
ี
์
ปฏบัติการชววิทยา 2 [Biology Laboratory 2] ภาควิชาชววิทยา คณะวิทยาศาสตร มมส.
ี
ิ
70 อ.ดร.สนนทา จลเจือ
ุ
ุ
ั
่
่
ี
2.1) Embryonic connective tissue เปนเนื้อเยือเกยวพันทพบไดเฉพาะในตวออนหรือ
ั
ี
่
้
ในเดกแรกคลอดเทานัน แบงเปน 2 ชนิด ไดแก Mucous connective tissue (Wharton’s jelly) ซงพบได
็
่
ึ
ึ่
เฉพาะในสะดอของเดกออน (Umbilical cord) และ Mesenchymal connective tissue ซงเปนเนื้อเยื่อ
ื
็
เกี่ยวพันที่พบไดทั่วๆไปในตัวออน
2.2) Adipose tissue หรือเนื้อเยื่อเกี่ยวพันสะสมไขมัน
ู
2.3) Cartilage หรือกระดกออน
2.4) Bone หรือกระดก
ู
2.5) Blood หรือเลือด
ภาพที่ 6.3 การจําแนกประเภทของเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (Classification of connective tissue)
ี
่
(ทมา : ดดแปลงมาจาก http://cnx.org/content/m43137/latest/?collection=col11410/
ั
latest)
ึ
่
เนื้อเยอกลามเนื้อ (Muscle tissue) หมายถึง เนือเยื่อซ่งประกอบไปดวยเซลลทมีเสนใยภายใน
้
ี
ื่
ี่
ํ
ั
(Contractile filaments) Actin และMyosin ทาหนาทชวยใหเซลลของเนือเยื่อกลามเนื้อสามารถหดตวได
้
ื
ี
ู
่
เม่อถกกระตนดวยสิ่งเราทเหมาะสมและเพียงพอ จัดจําแนกไดเปนกลุมโดยพิจารณาจากการมองเห็นการ
ุ
จัดเรียงตัวของเสนใย Actin และMyosin ภายในเซลลของเนื้อเยื่อกลามเนื้อ ดังนี้ (ภาพที่ 6.4)
้
่
ี
ั
่
้
ึ
ึ
้
1) Striated muscle หรือกลามเนือลาย หมายถง เนือเยือกลามเนือซงมการจัดเรียงตวของ
เสนใย Actin และMyosin ภายในเซลลอยางเปนระบบ และสามารถสังเกตเห็นไดอยางชัดเจนเมอมองผาน
่
ื
ํ
กลองจุลทรรศนแบบใชแสงธรรมดาในกําลังขยายทเหมาะสม จัดแบงได 2 ชนิดตามลักษณะการทางานและท ี ่
ี
่
ที่กลามเนื้อลายนั้นอยู ไดแก Skeletal muscle หรือกลามเนื้อโครงราง มักเปนกลามเนื้อลายเกาะตามกระดูก
เชน กลามเนื้อที่แขนขา และ Cardiac muscle หรือกลามเนื้อหัวใจ
2) Smooth muscle หรือกลามเนือเรียบ หมายถง เนื้อเยื่อกลามเนื้อซงถงแมจะมเสนใย
้
ึ
ี
ึ่
ึ
Actin และMyosin ภายในเซลลเพอการหดตวของเซลลแตกมในปริมาณนอยและจัดเรียงตวไมเปนระเบียบ
ั
่
็
ี
ื
ั
มักพบภายในรางกาย เปนผนังของอวัยวะภายใน เชน กลามเนื้อของมดลูก