Page 46 - python
P. 46

20




                   ฟงกชั่น float() และเก็บไวในตัวแปร a และ b ตามลําดับ ในขั้นตอมาคํานวณพื้นที่ดวยคําสั่ง area = a*b

                   จากนั้นพิมพผลลัพธโดยใชรหัสควบคุมการแสดงผล %.2f ซึ่งเปนการแสดงทศนิยมสองตําแหนง จาก
                                                                      ื้
                   ตัวอยางนี้ปอนคา a = 3.4 และคา b = 12.8 ผลลัพธ คือ "พนที่สี่เหลี่ยมที่มีความยาวฐาน 3.40 และสูง
                   12.80 เทากับ 43.52 ตารางหนวย"


                   2.17 การเขียนโปรแกรมคํานวณพื้นที่สามเหลี่ยมเมื่อรูความยาวดานทั้งสาม
                                          ี
                                          ่
                               ํ
                          การคานวณหาพนทสามเหลี่ยมที่รูคาความยาวดานทั้งสาม คํานวณจากสูตร
                                        ้
                                        ื






                       1
                      = (   +    +   )
                       2

                            =  s(s − a) × (   −   ) × (   −   )


                   ตัวอยางที่ 2.5 การเขียนโปรแกรมคํานวณพื้นที่สามเหลี่ยมเมื่อรูความยาวของดานทั้งสาม
                    from math import sqrt
                    a = float(input("ปอนระยะ a: "))

                    b = float(input("ปอนระยะ b: "))
                    c = float(input("ปอนระยะ c: "))
                    s = 1/2 * (a+b+c)
                    area = sqrt(s*(s-a)*(s-b)*(s-c))

                    print("พื้นที่สามเหลี่ยมที่รูความยาวทั้งสามดานมีคาเทากับ %.2f ตารางหนวย"%(area))

                   ผลลัพธ :
                    ปอนระยะ a: 17

                    ปอนระยะ b: 35
                    ปอนระยะ c: 25
                    พื้นที่สามเหลี่ยมที่รูความยาวทั้งสามดานมีคาเทากับ 197.77 ตารางหนวย

                                                  ื้
                          ตัวอยางที่ 2.5 การคํานวณพนที่สามเหลี่ยมที่รูความยาวของดานทั้งสาม ในขั้นแรกเขียนคําสั่งรับ
                   คาความยาวของดานทั้งสามโดยดวยคําสั่ง input() และแสดงคาวา "ปอนระยะ :" คาที่รับเขามาแลวมีชนิด
                                                                      ํ
                   เปนสตริง ใหแปลงเปนตัวเลขทศนิยมดวยคําสั่ง float() จากนั้นนําไปคํานวณหาตัวแปร s = (a+b+c)/2
                                     
                   และนําคา s ที่ไดไปคํานวณหาพื้นทดวยสูตร area = sqrt(s*(s-a)*(s-b)*(s-c)) แลวทําการถอดรากที่สอง
                                                ี่
                   ดวยคําสั่ง sqrt ซึ่งอยูภายในโมดูล math นาเขามาใชงานดวยคําสัง from math import sqrt จากนั้นนํา
                                                                         ่
                                                         
                                                       ํ
                   คาที่ไดมาแสดงผลดวยคําสั่ง print() โดยใชอกขระควบคุมการแสดงผลดวย %.2f เพอแสดงทศนิยมสอง
                                                                                         ื่
                                                        ั
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51