Page 64 - python
P. 64

38




                                                           บทที่ 4

                                                    ตัวแปรลีสตและทูเพิล


                   แนวคิด
                          ไพธอนมีความยืดหยุนในการสรางลีสต ซึ่งคลายกับอารเรยในภาษาซีและภาษาปาสคลาสหรือ
                         ื่
                   ภาษาอน ๆ ภายในตัวแปรลีสตอนุญาตใหขอมูลภายในเปนตัวแปรชนิดใด ๆ ไดอยางไมจํากัด แมแตตัว
                   แปรลีสตสามารถเก็บภายในตัวแปรลีสตได ทําใหสามารถสรางโครงสรางขอมูลที่มีความซับซอนและ

                   สามารถประยุกตใชในงานตาง ๆ ไดอยางกวางขวาง
                                                 ี่
                                                                                  ิ
                          ในบทนี้จะนําเสนอเนื้อหาเกยวกับ การประกาศตัวแปรลีสตและทูเพล การเขาถึงตําแหนงภายใน
                   ตัวแปรลีสตและทูเพล การเพมและลบตัวแปรลีสต การเรียง สลับตําแหนงหลังไปหนา กําจัดสมาชิกที่ซ้ํา
                                           ิ่
                                    ิ
                   กันในลีสต และฟงกชั่นตาง ๆ ของตัวแปรลีสตและทูเพิล

                   วัตถุประสงค
                          1. อธิบายการประกาศตัวแปรลีสตและทูเพิลได

                          2. อธิบายการเขาถึงตําแหนงภายในตัวแปรลีสตและทูเพิลได
                          3. อธิบายการเพมและลบตัวแปรลีสตได
                                        ิ่
                          4. อธิบายการเรียง สลับตําแหนงหลังไปหนาได
                                                  ั
                          5. อธิบายกําจัดสมาชิกที่ซ้ํากนในลีสตได


                   4.1 การประกาศตัวแปรชนิดลีสต
                          การประกาศตัวแปรชนิดลีสตสามารถทําไดโดยใชเครื่องหมาย [ และ ] ลอมรอบสมาชิกเอาไว ดัง
                   ตัวอยางตอไปนี้


                   ตัวอยางที่ 4.1 การเขียนโปรแกรมคํานวณผลรวมของขอมูลยกกําลังสองดวย for()
                    a = [ 3, 4, 2, 3, 4, 9, 4 , 7, 3, 4 ]

                    b = [ 'Google', 'Gmail', 'Youtube' ]
                          ตัวอยาง 4.1 ตัวแปร a เก็บรายการกลุมตัวเลข สวนตัวแปร b เก็บรายการสตริง

                   4.2 ตําแหนงสมาชิกยอยภายในลีสต
                                      
                          การเขาถงสมาชิกภายในตัวแปรลีสตระบุไดสองวิธี คือ ระบุดวยเลขจํานวนเต็มบวก และจานวน
                                                                                                     ํ
                                  ึ
                   เต็มลบ

                   ตัวอยางที่ 4.2 การระบุตําแหนงของสมาชิกยอยภายในลีสต

                                ตัวแปร a =  [ 3     4     2      3     4     9     4     7      3    4 ]
                    ระบุตําแหนงดวยเลขบวก  [0]    [1]  [2]  [3]  [4]  [5]  [6]  [7]  [8]  [9]
                     ระบุตําแหนงดวยเลขลบ  [-10]  [-9]  [-8]  [-7]  [-6]  [-5]  [-4]  [-3]  [-2]  [-1]
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69