Page 75 - python
P. 75

49




                   5.2 การบวกและการคูณสตริง

                                          ั
                          ตัวแปรสตริงบวกกบสตริง คือการนําสตริงมาตอกัน ในทางกลับกนตัวแปรสตริง คูณกับตัวเลข
                                                                                 ั
                   เปนการนําสตริงมาตอกันเทากับจํานวนที่คูณ ดังตัวอยางตอไปนี้
                   ตารางที่ 5.2 การบวกและการคูณสตริง
                           ชนิดขอมูล                 ตัวอยาง                       ผลลัพธ

                    ตัวเลข                             1+1                              2
                    สตริง                            "1" + "1"                        "11"
                    ตัวเลข                            5 * 10                           50

                    สตริง                             "5" * 10                    "5555555555"
                          การบวกและการคูณตัวเลขและการคูณสตริงใหผลลัพธแตกตางกัน ถาขอมูลเปนตัวเลขกับตัวเลข
                   ผลลัพธจะเปนตัวเลข สวนขอมูลตัวเลขและสตริง ผลลัพธจะเปนสตริง จากตัวอยางนี้ '5' * 10 จะหมายถง
                                                                                                         ึ
                   การตอสตริง '5' เขาดวยกัน 10 ครั้ง การบวกสตริงคือการตอสตริงเขาดวยกน เชน '1' + '1' มคาเทากบ
                                                                                   ั
                                                                                                        ั
                                                                                                 ี
                   '11'

                   5.3 ตําแหนงสมาชิกภายในสตริง

                                
                                  ึ
                                                                                                   ื่
                                                                                      ั
                          การเขาถงตําแหนงสมาชิกภายในตัวแปรสตริงระบุไดสองวิธี เชนเดียวกบตัวแปรชนิดอน ๆ คือ
                   ระบุดวยเลขจํานวนเต็มบวก และจํานวนเต็มลบ
                   ตัวอยางที่ 5.1 การระบุตําแหนงของสมาชิกยอยภายในลีสต
                                ตัวแปร s =   P      r     o      g     r     a     m     m      e     r
                    ระบุตําแหนงดวยเลขบวก  [0]    [1]  [2]  [3]  [4]  [5]  [6]  [7]  [8]  [9]
                     ระบุตําแหนงดวยเลขลบ  [-10]  [-9]  [-8]  [-7]  [-6]  [-5]  [-4]  [-3]  [-2]  [-1]
                          สมาชิกตัวแรกสุดแทนคือตําแหนง s[0] มีคา "P" สวนสมาชิกตําแหนงหลังสุดคือ s[-1] มีคา "r"


                   5.4 การตรวจสอบความยาวของสตริง
                          ภาษาไพธอนใชคําสั่ง  len()  ในการตรวจสอบจํานวนสมาชิกของตัวแปร  การตรวจสอบความยาว
                                                  ี
                                               
                                                     ั
                   ของตวแปรสตรงใชคําสัง len() เชนเดยวกน แสดงตัวอยางดังตอไปน  ี ้
                                      ่
                                ิ
                        ั

                   ตัวอยางที่ 5.2 การตรวจสอบความยาวสตริง
                    s = "Information Science"
                    print(len(s))

                   ผลลัพธ :
                    19

                          ตัวอยาง 5.2 ตัวแปร s มีชนิดสตริง เก็บขอความคําวา "Information Science" การตรวจสอบ
                   ความยาวของสตริงใชคําสั่ง len(s) ซึ่งมีจํานวน 19 ตัวอักษร
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80