Page 126 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 126

การดำเนินงาน
                  2566               2567                2568                2569               2570

           1. ออกแบบและจัดทำ  1. จัดซื้อจัดจางตามแผน  1. ประเมินผลการใหบริการแพลตฟอรม
           สถาปตยกรรม        การลงทุนดานโครงสราง  2. พัฒนาปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพและเสถียรภาพใหเหมาะสมกับบริบทของหนวยงานสาธารณสุข
           ระบบสุขภาพดิจิทัล  พื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศ  ทั้งภาครัฐและเอกชน ทั่วประเทศ
           2. ศึกษาและเตรียมเสนอราง   และการสื่อสาร  3. ดําเนินการจัดทํา พ.ร.บ. ระบบสุขภาพดิจิทัลของประเทศไทย
           พ.ร.บ. ระบบสุขภาพดิจิทัลของ  2. จางพัฒนาระบบบริการ   4. ดำเนินการจัดตั้งสำนักงานสุขภาพดิจิทัลแหงชาติ
           ประเทศไทย          แอปพลิเคชันตางๆ ตาม
           3. ศึกษาและเตรียมเสนอราง  แพลตฟอรมที่ออกแบบ
           จัดตั้งสำนักงานสุขภาพดิจิทัล  3. ดําเนินการจัดทํา พ.ร.บ. ระบบ
           แหงชาติ (Nation Digital   สุขภาพดิจิทัลของประเทศไทย
           Health Agency : NDHA)  4. ดำเนินการจัดตั้งสำนักงาน
           4. จางที่ปรึกษาโครงการ ศึกษา  สุขภาพดิจิทัลแหงชาติ
           ปจจัยความเสี่ยง และจัดทำแผน
           การลงทุนดานโครงสรางพื้นฐาน
           เทคโนโลยีสารสนเทศและ
           การสื่อสาร




         2.7 โครงการจัดทำฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG

         ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

          โครงการ             โครงการจัดทำฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG ดานทรัพยากรธรรมชาติ
                              และสิ่งแวดลอม

          วัตถุประสงคโครงการ  1. บูรณาการขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio-Circular-Green
                                  Economy : BCG Model)
                              2. พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัลดานทรัพยากรธรรมชาติบูรณาการการขับเคลื่อน BCG เชื่อมโยงกับ TPMAP

          รายละเอียดโครงการ   1. จัดทำสถาปตยกรรมองคกรในการพัฒนาบูรณาการฐานขอมูลเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio -Circular – Green
                                  Economy :  BCG Model)
                              2. จัดทำเครือขายฐานขอมูลดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมและแพลตฟอรมดิจิทัลบูรณาการขอมูลพื้นที่สีเขียว
                                  ความหลากหลายทางชีวภาพ น้ำเพื่อประชาชน และการจัดเก็บคารบอน 2567
                              3. ออกแบบและจัดทำแพลตฟอรมดิจิทัลติดตามประเมินผลสถานภาพการขับเคลื่อน BCG เชื่อมโยงกับ TPMAP ภายใต
                                  การวิเคราะหเชิง Business Intelligence and Artificial Intelligence ในรูปแบบแผนที่ (Geographic Information System)
                                  ใหมีมาตรฐานดิจิทัล

          ผูรับผิดชอบ        1. สำนักงานปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
                              2. หนวยงานในสังกัดของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

          ผลผลิต              1. มีฐานขอมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมครอบคลุมพื้นที่เปาหมาย โดยมีการจัดทำสถาปตยกรรมองคกรในการพัฒนา
                               บูรณาการฐานขอมูลเพื่อขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจ BCG (Bio-Circular-Green Economy : BCG Model)
                              2. ฐานขอมูลบูรณาการพื้นที่สีเขียว
                              3. ฐานขอมูลบูรณาการขอมูลทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชประโยชนที่ดิน วัฒนธรรมทองถิ่น ภูมิปญญาทอง
                               ถิ่นในพื้นที่เปาหมาย
                              4. ฐานขอมูลบูรณาการการจัดเก็บปริมาณคารบอน
                              5. ฐานขอมูลบูรณาการขอมูลสิ่งแวดลอม (มลพิษทางน้ำ มลพิษทางอากาศ และปริมาณขยะ)
                              6. พัฒนาแพลตฟอรมดิจิทัลติดตามประเมินผลสถานะภาพการขับเคลื่อน BCG เชื่อมโยงกับ TPMAP ภายใตการวิเคราะหเชิง
                               Business Intelligence and Artificial Intelligence ในรูปแบบแผนที่ (Geographic Information System) ใหมีมาตรฐานดิจิทัล






                 125
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131