Page 142 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 142

4.8 โครงการ Big Data and AI Analytics for Crime Prevention


            โครงการ            โครงการ Big Data and AI Analytics for Crime Prevention

            วัตถุประสงคโครงการ  1. เพื่อวิเคราะหปจจัยการกระทำความผิด เพื่อนำไปใชวางแผนวิเคราะหปองกันอาชญากรรม
                               2. เพื่อพัฒนาระบบวิเคราะหการคาดการณสถานการณอาชญากรรมในแตละพื้นที่
                               3. เพื่อใหหนวยงานในกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวของมีขอมูลในการกำหนดยุทธศาสตรการปองกันอาชญากรรมไดอยางแมนยำ

            รายละเอียดโครงการ  เพื่อใหการนำเสนอขอมูลการคาดการณอาชญากรรมในระดับพื้นที่สามารถนำไปสูการวางกลยุทธและวิธีปองกันแกไขปญหา
                               อาชญากรรมเกิดเปนแผนปฏิบัติการในระดับจังหวัด และมีระบบการคาดการณสถานการณอาชญากรรมในแตละพื้นที่ทำให
                               ประชาชนสามารถเขาถึง และไมตกเปนเหยื่ออาชญากรรม มีการเฝาระวังตัวเองผานระบบ Application นาิกาอาชญากรรม
                               เพื่อเปนการเตือนภัยใหกับประชาชนไดนั้น ขอมูลจากรายงานสถานการณอาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรม (White Paper
                               on Crime and Justice) จึงไมเพียงพอ ดังนั้นในการวิเคราะหและนำไปสูการพยากรณสถานการณอาชญากรรม จึงตองอาศัย
                               ขอมูลตาง ๆ ที่หนวยงานตองการ เพื่อที่จะประกอบเปนขอมูลสำคัญในการวิเคราะหอาชญากรรมเพื่อใหหนวยงานทราบปญหา
                               ของแตละหนวยงานในกระบวนการยุติธรรม และสามารถนำไปกำหนดนโยบาย ยุทธศาสตรหรือแนวทางในการปองกันอาชญากรรม
                               อีกทั้งสงเสริมการมีสวนรวมของภาคประชาชนอาสาสมัคร ในพื้นที่ไดเขามามีบทบาทและมีสวนรวมในการจัดกิจกรรมการปองกัน
                               อาชญากรรมในพื้นที่รวมกับภาครัฐ เปนการสรางชุมชนเขมแข็ง ปลอดภัย ที่จะเกิดขึ้นกับพื้นที่ไดอยางมีประสิทธิภาพ
            ผูรับผิดชอบ       1. สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม
                               2. สำนักงานตำรวจแหงชาติ

            ผลผลิต             สามารถพัฒนาระบบวิเคราะหการคาดการณสถานการณอาชญากรรมในแตละพื้นที่ เพื่อใหบริการประชาชนในพื้นที่ทราบสถานการณ
                               ความเสี่ยงของพื้นที่เกี่ยวกับอาชญากรรม รวมถึงวิเคราะหปญหาอาชญากรรมในพื้นที่ใหหนวยงานไดทราบปญหา เปนขอมูล
                               เสริมประกอบการออกแบบและเปนทิศทางในการขับเคลื่อนยุทธศาสตรขององคกรในการปองกันปญหาอาชญากรรม และ
                               สรางความรวมมือของภาคประชาชน อาสาสมัครในการจัดกิจกรรมปองกันอาชญากรรมในพื้นที่

            งบประมาณ           50 ลานบาท

            ระยะเวลาการดำเนินโครงการ 48 เดือน

            ปงบประมาณ         2566 - 2569


                                                       การดำเนินงาน
                   2566               2567               2568                2569               2570

            พัฒนาศูนย์พยากรณ์  1. พัฒนาเชื่อมโยงข้อมูลที่  1. พัฒนาฐานข้อมูลและการให้  1. พัฒนาฐานข้อมูลและการให้  -
            สถานการณ์อาชญากรรม โดย  จำเป็นในการพยากรณ์  บริการอย่างต่อเนื่อง  บริการอย่างต่อเนื่องเพื่อขยาย
            1. ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลและ  สถานการณ์อาชญากรรม  เพื่อขยายผลการใช้งาน  ผลการใช้งาน
            แหล่งข้อมูลที่จำเป็น ออกแบบ  2. พัฒนาระบบแสดงผล  2. พัฒนาระบบวิเคราะห์เพื่อ  2. พัฒนาระบบวิเคราะห์
            ระบบและกระบวนการดำเนินงาน  การพยากรณ์ในรูปแบบ Web  การตัดสินใจของผู้บริหาร   เพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร
            และวิธีการจัดเก็บข้อมูลเพื่อ  Application และ Mobile  (Dashboard)  อย่างต่อเนื่อง (Dashboard)
            กำหนด Template ของข้อมูล  Application
            ที่สำคัญและจำเป็น  3. ทดสอบและฝึกฝนระบบ AI
            2. ศึกษาวิธีการจัดเก็บข้อมูล  เพื่อวิเคราะห์คาดการณ์
            ในกระบวนการยุติธรรม และ  แนวโน้มอาชญากรรมในพื้นที่
            วิธีการเชื่อมโยงข้อมูล  นำร่อง
            3. ทดสอบข้อมูล กำหนด  4. พัฒนาสร้างฐานข้อมูลกลางใน
            มาตรฐานและนำเข้าข้อมูลใน  กระบวนการยุติธรรม
            พื้นที่นำร่อง














                 141
   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146