Page 50 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 50

เปาหมาย                    ตัวชี้วัด                ผลการดำเนินงาน

                    1  ลดความเหล่อมล้ำในการเขาถึงบริการ  อันดับดัชนีรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส   ป 2565 ประเทศไทยอยูอันดับที่ 55
                                ื
                       และสวัสดิการของประชาชนดวยขอมูล  (e-Government Development   ดีขึ้น 2 อันดับ จากป 2563
                       และบริการผานชองทางดิจิทัลสำหรับ  Index : EGDI)  ดีขึ้น 10 อันดับ   ที่อยูในอันดับที่ 57
                                          ั
                       ประชาชนทกกลมเพอยกระดบคณภาพ
                                            ุ
                                  ุ
                                    ื
                                    ่
                               ุ
                       ชีวิตที่ดี
                    2  เพ่มขีดความสามารถทางการแขงขันให   อันดับความยากงายในการดำเนิน  ยกเลิกการจัดอันดับและรอประกาศ
                         ิ
                       กับผูประกอบการวิสาหกิจขนาดกลาง  ธุรกิจ (Ease of Doing Business   แนวทางการจัดอันดับจาก สำนักงาน
                       และขนาดยอมของไทย ดวยการบูรณาการ  : EoDB) ดีขึ้น 10 อันดับ   ก.พ.ร. (ป 2563 ประเทศไทยอยูอันดับ
                                      
                       กลไกภาครัฐในการสนับสนุนใหเกิดการ                      ที่ 21 ดีขึ้น 6 อันดับ จากป 2562
                       อำนวยความสะดวกแกการประกอบธุรกิจ                       ที่อยูในอันดับที่ 27)
                       ผานชองทางดิจิทัล
                    3  การทำงานของภาครัฐมีความโปรงใส  อันดับดัชนีภาพลักษณคอรัปชัน   อันดับที่ 110  (ลดลง 6 อันดับ)
                       ตรวจสอบไดดวยการปรับปรุงขอมูลตาม  (Corruption Perception   ป 2564 ประเทศไทยอยูในอันดับที่ 110
                       กรอบธรรมาภิบาลขอมูลภาครัฐ และเปด  Index : CPI) ดีขึ้น 3 อันดับ  ลดลง 6 อันดับ จากป 2563 ที่อยูอันดับ
                                            ิ
                                              ั
                                             ิ
                       เผยแกประชาชนผานชองทางดจทล                           ที่ 104 ป 2562 อยูในอันดับที่ 101 และ
                                                                              ป 2561 อยูในอันดับที่ 99
                    4  สรางการมีสวนรวมของประชาชนในการ  อนดับดชนีชวดการมีสวนรวมทาง  ป 2565 ประเทศไทยอยูอันดับที่ 18
                                                            ี
                                                     ั
                                                             ั
                                                            ้
                                                         ั
                       พัฒนาบริการของภาครัฐ  และกำหนด  อิเล็กทรอนิกส (e-Participation   ดีขึ้น 33 อันดับ จากป 2563 ที่อยูใน
                                         
                       นโยบายสำคัญของประเทศ ดวยการเสนอ  Index : EPI) ดีข้น 10 อันดับ   อันดับที่ 51
                                                               ึ
                                               ็
                               ็
                       ความคิดเหนดานนโยบายหรือประเดน
                       การพัฒนาประเทศผานชองทางดจทล
                                             ิ
                                              ิ
                                               ั
                          จากขอมูลผลสำรวจดังกลาว หนวยงานไดนำเสนอประเด็นปญหาอุปสรรคที่พบในระหวางการดำเนินงาน
                                                 ี
                 โดยสามารถแบงออกไดเปน 5 ประเด็นท่สำคัญ สรุปไดดังน
                                                               ี
                                                               ้
                   1.  การบริหารจัดการโครงการ

                                        ื
                       ▪  กระบวนการจัดซ้อจัดจางภาครัฐ
                       ▪  การบูรณาการระหวางหนวยงานความรวมมือยังไมเปนไปในทิศทางเดียวกัน
                                                                     ื
                       ▪  ทักษะบุคลากรภายในหนวยงานยังตองไดรับการพัฒนาเพ่อใหสามารถดำเนินโครงการไดอยางมีประสิทธิภาพ
                                                                                      ื
                                     ู
                                  ี
                       ▪  มีการเปล่ยนผรับผิดชอบโครงการระหวางการดำเนินงาน ทำใหขาดความตอเน่องในการดำเนินงานและขาด
                                           ี
                          การสนับสนุนขอมูลท่จำเปนจากหนวยงานอ่น
                                                             ื

                   2.   ดานงบประมาณ
                       ▪  งบประมาณไมไดรับการจัดสรร
                       ▪  งบประมาณไดรับการจัดสรรแตไมเพียงพอ





                 49
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55