Page 194 - ebook.msu.ac.th
P. 194
ุ
่
ั
ิ
ิ
้
ี
เกดความสงบสขและสามคคกลมเกลยวกน สงผลใหเกดการ
ี
ั
ี
ื
ขัดเกลาทางสังคมโดยอาศัยความเช่อให้ลูกหลานม หิริโอตัปปะ
ไม่ดื้อด้านหยาบโลนหรือเป็นผู้ที่ลุแก่คำาสอนของผู้อาวุโส
การขัดเกลาดังกล่าวล้วนส่งผลต่อการปกครองใน
ราชอาณาจักรนั้น ๆ เนื่องจากมีความเชื่อเป็นแบบแผนสำาคัญ
ี
ในการมีกิจกรรมหรือพิธีกรรมเก่ยวข้องกัน ท้งการเกิด การ
ั
เปลี่ยนแปลงสถานภาพทางสังคม หรือแม้กระทั้งการตาย
เทคนิควิธีการเก่ยวกับการปลงศพน้นมีความละเอียด
ั
ี
ึ
ู
ซับซ้อนข้นอย่กับฐานะทางสังคม ไพร ทาส คนธรรมดา สามัญ
่
ก็ปลงศพตามมีตามเกิด ส่วนเจ้านายชั้นปกครองล้วนใช้ความ
เชื่อทางศาสนามาเป็นตัวรองรับซึ่งได้แก่ การเผาในเมรุเพราะ
เป็นความเชอของพราหณ์เก่ยวกับโลกและจกรวาลอนมเขา
ั
ื
ี
่
ั
ี
พระสุเมรุอยู่กลางจักรวาล หรือ การปลงศพแบบนกหัสดีลิงค์
ำ
ั
มีความเช่อรองรับว่าจะนาพาไปส่ภพภูมิท่ชนช้นของตนเองม ี
ื
ี
ู
ความเชื่อว่าควรที่จะไปอยู่ การสร้างงานด้วยเทคนิคต่าง ๆ ก็
เกดขน เรมตงแตโครงสรางนก การเคลอนทของนก การตด
่
ื
่
ี
ิ
้
ึ
้
ิ
่
่
ิ
้
ั
ื
ั
ประดับตกแต่ง จนกระท้งการเคล่อนไหวของงวง การกระ
พริบตา ล้วนเพื่อเสริมให้เห็นเกิดความสมจริง สะท้อนให้เห็น
ถึงความอัจฉริยภาพของคนโบราณเป็นอย่างมาก ยิ่งในขบวน
แห่มาการจัดแบ่งรูปขบวนและผ้คนเข้าร่วมงานเป็นจานวนมาก
ำ
ู
เห็นถึงความจงรักภักดีต่อศพไม่ว่าจะเป็นเจ้านายหรือพระเถระ
้
ึ
็
่
ำ
่
้
้
ผใหญลวนสะทอนเหนความกลมเกลยวสมครสมานเปนนาหนง
้
ู
ั
ี
็
ใจเดียวกันของคนในชุมชนแทบทั้งสิ้น
ุ
ุ
ั
ดังน้นการตายของคนในกล่มชาติพันธ์ลาว-ไทย โดย
ั
เฉพาะในราชวงศ์ช้นสูงน้นล้วนมีความเช่อของชนชาติฝังอย ่ ู
ื
ั
ั
หย่งรากลึกยากต่อการหักโค่นไปได้และถือเป็นการสร้างพลัง
1๙3
1๙2 ๑ ๐ ๐ ปี ช า ต ก า ล
๑ ๐ ๐ ปี ช า ต ก า ล