Page 37 - ebook.msu.ac.th
P. 37
25
บทที่ 5
อักษรธรรมล้านนา
กรรณิกำร์ วิมลเกษม (2552 : 110) ได้กล่ำวถึงควำมส ำคัญของอักษรธรรมล้ำนนำว่ำ อักษรธรรม
ล้ำนนำเป็นอักษรที่บรรพชนล้ำนนำใช้บันทึกพระธรรมค ำสอนทำงพุทธศำสนำและชำดกต่ำงๆ เป็นส่วนใหญ่
รวมทั้งใช้บันทึกวรรณกรรมทำงโลกอื่นๆ เช่น กฎหมำย ต ำนำน ต ำรำ เช่น ต ำรำยำ ต ำรำโหรำศำสตร์ มำเป็น
เวลำนำนกว่ำ 600 ปี นับแต่พุทธศตวรรษที่ 20-24 ซึ่งในปัจจุบันมีเอกสำรโบรำณเป็นจ ำนวนมำกที่เขียนด้วย
อักษรธรรมล้ำนนำทั้งที่เป็นใบลำน แผ่นศิลำ ตลอดจนสมุดที่ท ำด้วยกระดำษสำที่เรียกว่ำ “พับสำ” อยู่ตำมวัด
ิ
และเก็บรักษำไว้ที่พพิธภัณฑสถำนต่ำงๆ ในภำคเหนือ ซึ่งนับเป็นมรดกทำงวัฒนธรรมและขุมทรัพย์แห่งสรรพ
วิทยำกำรที่ส ำคัญยิ่งที่บรรพชนล้ำนนำได้ให้ไว้แก่อนุชนรุ่นหลัง ดังนั้นจึงจ ำเป็นที่จะต้องอ่ำนและเขียนอักษร
ธรรมล้ำนนำได้กอนเป็นอันดับแรกจึงจะสำมำรถน ำควำมรู้และเรื่องรำวต่ำงๆ ที่บันทึกไว้เหล่ำนี้ออกมำใช้ให้
่
เกิดประโยชน์ต่อประเทศชำติได้ต่อไป
ภำพยันต์อักขระธรรมล้ำนนำ อ้ำงอิงใน http://www.cm77.com/hongpra/yanlanna22.php
ภาพใบลานต ารายาล้านนา อ้ำงอิงจำก พระจตุพล จิตฺตส วโร, พระศุภชัย ชยสุโภ, เกริก อัครชิโนเรศ. แนวคิด
ในกำรจัดเก็บคัมภีร์ใบลำนด้วยระบบดิจิตอล ในจังหวัดเชียงใหม่. โครงการ e-book วรรณกรรมล้านนา.
คณะมนุษยศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่. 2553.
อักษรธรรมล้ำนนำที่บันทึกไว้ในเอกสำรโบรำณในภำคอีสำนนั้น มีปรำกฏอยู่เป็นจ ำนวนน้อย แต่กมี
็
ปรำกฏบ้ำง อำจเนื่องจำกกำรเคลื่อนย้ำยเอกสำรมำจำกแหล่งอื่นทำงภำคเหนือ เช่น กำรคัดลอกต ำรำต่ำงๆ
หรือกำรซื้อขำยแลกเปลี่ยน ท ำให้พบเอกสำรโบรำณในรูปแบบใบลำน พับสำ อยู่ตำมวัด ศูนย์และ
พิพิธภัณฑสถำนต่ำงๆ ในภำคอีสำน
ตัวอักษรธรรมล้ำนนำแบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้