Page 44 - ebook.msu.ac.th
P. 44
31
บทที่ 6
อักษรธรรมล้านช้าง (อีสาน)
จำรึกวัดถ้ ำสุวรรณคูหำ 1 บ้ำนคูหำพัฒนำ ต ำบลนำสี อำเภอสุวรรณคูหำ จังหวัดหนองบัวล ำภู
ภำพจำก https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2233
6.1 ประวัติและการใช้ตัวอักษรธรรมล้านช้าง
เนื่องจำกผู้คนในดินแดนอีสำนส่วนหนึ่งเคยมีประวัติศำสตร์ร่วมและมีชำติพันธุ์เดียวกันกับผู้คนใน
อำณำจักรล้ำนช้ำงมำแต่อดีตในหลำยยุคหลำยสมัย จึงท ำให้มีวัฒนธรรมขนบธรรมเนียมประเพณีรวมถงมี
ึ
ภำษำพูดและมีกำรใช้ตัวอักษรร่วมกัน เป็นระยะเวลำยำวนำน โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งอกษรธรรมที่ปัจจุบันยัง
ั
ั
ั
ื่
หลงเหลือในเอกสำรใบลำน ในเอกสำรเล่มนี้จึงนิยำมชื่ออกษรธรรมชนิดนี้ว่ำ “อกษรธรรมล้ำนช้ำง” เพอให้
ครอบคลุมมิติทำงวัฒนธรรมและควำมเป็นจริงทำงสังคมในยุคสมัยนั้น
สมัย วรรณอุดร (2557 : 38-39) กล่ำวว่ำ อักษรธรรมอีสำนเป็นตัวอกษรที่มีรูปลักษณะที่กลม
ั
ั
ี
คล้ำยกันกับอักษรธรรมล้ำนนำ หรือตัวเมือง หรือเรียกอกอย่ำงหนึ่งว่ำอกษรยวนเป็นอย่ำงมำก จะแตกต่ำงกัน
ั
ั
บ้ำงบำงตัวเท่ำนั้น สำเหตุที่คล้ำยกันเป็นเพรำะอกษรธรรมอีสำนนั้นได้รับอิทธิพลและสืบทอดมำจำกอกษร
ธรรมล้ำนนำ ซึ่งมีพัฒนำกำรมำจำกอักษรมอญโบรำณดังที่ศำสตรำจำรย์ธวัช ปุณโณทก กล่ำวว่ำ เมื่อศึกษำ
รูปแบบของอกษรตัวธรรมที่ใช้ในภำคอีสำนและล้ำนช้ำงแล้วพบว่ำมีรูปแบบคล้ำยกับอกษรยวนหรืออกษรตัว
ั
ั
ั