Page 45 - ebook.msu.ac.th
P. 45

32


                                     ั
                                                                                          ั
               เมืองในภำคเหนือ  ซึ่งทั้งอกษรตัวธรรมและอักษรตัวยวนในภำคเหนือนั้นได้สืบทอดมำจำกอกษรมอญโบรำณที่
                                                                                                  ั
               หริภุญไชย นั่นคืออักษรมอญหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ 18 (คริสต์ศตวรรษที่ 12) เป็นต้นแบบของอกษรยวน
                                                                            ิ
               ภำคเหนือและอกษรธรรมอีสำน    สำเหตุที่เชื่อว่ำอักษรธรรมอีสำนได้รับอทธิพลและสืบทอดมำจำกอกษร
                            ั
                                                                                                  ั
               ธรรมล้ำนนำเพรำะหลักฐำนทำงประวัติศำสตร์เป็นเครื่องยืนยันที่ชัดเจนโดยกล่ำวถึงควำมสัมพันธ์ระหว่ำง
                                    ึ
               อำณำจักรล้ำนช้ำง (รวมถงภำคอีสำนบำงส่วน) และอำณำจักรล้ำนนำในสมัยรำชวงศ์มังรำย ทั้งทำงด้ำนศำสนำ
               ศิลปวัฒนธรรมและควำมสัมพนธ์ทำงสำยเลือดแห่งเจ้ำผู้ปกครองอำณำจักรทั้งสอง   กล่ำวคือในสมัยพระเจ้ำวิ

                                        ั
               ชุลรำช  แห่งอำณำจักรล้ำนช้ำงได้ฟื้นฟูและท ำนุบ ำรุงพระพุทธศำสนำแบบลังกำวงศ์โดยได้รับกำรสืบทอดมำ
               จำกเชียงใหม่และมีพระเถระผู้ใหญ่จำกล้ำนช้ำงมำศึกษำพระธรรมวินัยจำกล้ำนนำด้วย  ต่อมำในสมัยพระเจ้ำ
               โพธิสำลรำช  (2063–2093)  พระโอรสของพระเจ้ำวิชุลรำช  ได้สมรสกับพระธิดำเจ้ำเมืองเชียงใหม่และในสมัย
               เดียวกันนี้พระเจ้ำโพธิสำลรำชได้ขอพระเทพมงคลเถระและบริวำรพร้อมทั้งคมภีร์พระไตรปิฎกจำกเชียงใหม่มำ
                                                                              ั
               เผยแผ่ล้ำนช้ำงเมื่อ  พ.ศ.  2066  อีกด้วย  ต่อมำในสมัยพระเจ้ำไชยเชษฐำธิรำช  พระโอรสของพระเจ้ำโพธิสำล
               รำชและเจ้ำหญิงเมืองเชียงใหม่ได้เสด็จไปครองเมืองเชียงใหม่อยู่ระยะหนึ่งเพรำะทำงเชียงใหม่ขำดผู้สืบเชื้อสำย
               (พ.ศ.2091–2093)  เมื่อพระเจ้ำโพธิสำลรำชสวรรคตจึงเสด็จกลับไปครองอำณำจักรล้ำนช้ำง  และในกำร
               กลับมำครั้งนั้นพระองค์คงจะได้น ำเอำพระธรรมคัมภีร์  วรรณคดี  นักปรำชญ์รำชบัณฑิตตลอดถึงช่ำงฝีมือ

               กลับมำล้ำนช้ำงด้วย  ฉะนั้นตัวอักษรล้ำนนำที่ใช้กันแพร่หลำยในอำณำจักรล้ำนนำในขณะนั้นก็น่ำจะได้เข้ำมำมี
               บทบำทต่ออำณำจักรล้ำนช้ำงมำกยิ่งขึ้นตำมล ำดับ  ในระยะแรกๆ  อกษรทั้ง  2  อำณำจักรนี้เป็นอักษรแบบ
                                                                         ั

               เดียวกันเพรำะน ำอักษรธรรมล้ำนนำมำใช้ในอำณำจักรล้ำนช้ำงช่วงต้นๆ   ดังปรำกฏในศิลำจำรึกที่พบในภำค
               อีสำนและล้ำนช้ำง เช่น จำรึกฐำนพระพุทธรูปวัดสีสะเกด เวียงจันทน์ (พ.ศ. 2033) จำรึกฐำนพระพุทธรูปพระ
               ประธำนในพระอุโบสถวัดพระธำตุพนม  (พ.ศ.  2046)  จำรึกวัดถ้ ำสุวรรณคูหำ  (พ.ศ.2106)  เป็นต้น  จำรึก
               ดังกล่ำวมีรูปแบบสัณฐำนตัวอกษรเหมือนกันกับอกษรธรรมล้ำนนำในช่วงระยะเวลำใกล้เคียงกัน  เช่น  จำรึก
                                        ั
                                                        ั
               ฐำนพระพุทธรูปวัดเชียงมั่น จังหวัดเชียงใหม่ (พ.ศ. 2008) ศิลำจำรึกวัดช้ำงค้ ำ จังหวัดน่ำน (พ.ศ. 2091) เป็น
                                       ั
               ต้น  ต่อมำรูปแบบของตัวอกษรล้ำนนำและตัวอักษรธรรมได้พัฒนำแตกต่ำงกันออกไปจนในปัจจุบันมีรูปแบบ
               แตกต่ำงกันบ้ำงบำงประกำร เช่น ตัวอักษรธรรมล้ำนนำ ได้เพิ่มเสียงวรรณยุกต์ เพิ่มเครื่องหมำยก ำกับเสียงตัว
               พยัญชนะ  เป็นต้น  ส่วนตัวอกษรธรรมในล้ำนช้ำงไม่ได้เพิ่มเติมอะไรมำกและก็น ำมำใช้ในภำคอีสำนของไทยสืบ
                                       ั
               ต่อมำ


                       6.2 พยัญชนะ
                              พยัญชนะอักษรธรรมล้ำนช้ำง (อีสำน) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท
                                     1) พยัญชนะตัวเต็ม  คือ พยัญชนะที่เขียนเต็มรูปแบบปกติ มี 37 รูป ท ำหน้ำที่เป็น

               พยัญชนะต้น เขียนไว้บนบรรทัด
                                     2) พยัญชนะตัวเฟื้อง  หรือ ตัวห้อย คือ พยัญชนะที่เขียนครึ่งรูป หรือครึ่งตัว โดย
               เขียนไว้ใต้บรรทัด ท ำหน้ำที่เป็นพยัญชนะตัวสะกดและพยัญชนะควบกล้ ำ
                                     ดังตำรำงตัวอักษรตำมวรรคต่ำง ๆ ดังนี้
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50