Page 157 - Lab Bilology I 63
P. 157
ี
ิ
ี
์
ปฏบัติการชววิทยา 1 [Biology Laboratory I] ภาควิชาชววิทยา คณะวิทยาศาสตร มมส.
144 ดร.ปัทมาวดี ปาสาจะ
126 | ป ฏิ บั ติ ก า ร ช ว วิ ท ย า 1
ี
ลักษณะเฉพาะของ species พบในกลุ่มสัตว์พวกแมลง สัตว์เลื้อยคลาน และสัตว์ปีก สัตว์เลี้ยงลูกด้วย
ี
ุ
้
ั
น้ านม เช่น การชักใยของแมงมม การจาศลและการอพยพยายถน การสรางรงของนก การดูดนมแม ่
ิ
้
่
ของทารก
ิ
2. พฤตกรรมการเรียนรู้ (Learning behavior) เป็นพฤติกรรมที่เกิดขึ้นเฉพาะตัวของสัตว์
ื
ตัวใดตัวหนึ่งเท่านั้น อาศัยประสบการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต แลวนามาประมวลผลเพ่อตอบสนองตอ
่
้
้
สภาพแวดล้อมได้ดียิ่งขึ้น พฤติกรรมการเรียนรู้ ไม่สามารถถ่ายทอดไดทางพันธุกรรม เป็น
ประสบการณ์เฉพาะตัว แบ่งย่อยได้เป็น 5 แบบ คือ
2.1 พฤติกรรมเรียนรู้แบบความเคยชิน (Habituation) เป็นรปแบบของการ
ู
ุ
เรียนรู้ที่ง่ายที่สุด ลดหรือหยุดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเดิมที่เข้ามากระตุ้นซ้ าๆ เป็นการคนเคย เคยชิน
้
ิ
เนื่องจากสัตว์เรียนรู้ว่าสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้นไม่มีอันตรายต่อตัวสัตว์เอง เกิดการเรียนรู้ที่จะเพกเฉย
่
ิ
ุ
เมนเฉย ลดการตอบสนองต่อสงกระต้น แม้สิ่งเร้านั้นจะยังคงกระตุ้นอยู่ การเรียนรู้แบบนี้เป็นผลดีต่อ
ิ
สัตว์ ท าให้การท างานต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจ าวันไม่ถูกรบกวนตลอดเวลา เช่น นกหยุดบินหนีเมื่อ
รถวิ่งผ่านรังที่สร้างอยู่ริมถนน
2.2 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบฝงใจ (Imprinting) เปนการเรียนร้ในระยะเวลา
ู
ั
็
สนๆ ในช่วงแรกของชีวิต มักพบในสัตว์แรกเกิด โดยเรียนรู้และจดจ าสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้นได้ ท าให้
้
ั
ั
เคลื่อนที่เดินตามวัตถุที่เคลื่อนไหว ซึ่งเห็นเป็นครั้งแรกหลังจากที่เกิดมา เช่น ลูกเป็ดแรกฟกเดินตาม
แม่เป็ดออกไปหาอาหาร
2.3 พฤติกรรมการเรียนรู้แบบวางเงื่อนไข (Classical conditioning) เปนการ
็
เรียนรู้อย่างมีเงื่อนไข เกิดการตอบสนองต่อสิ่งเร้าไม่แท้จริง (conditioned stimulus) ได้เช่นเดียวกับ
ี
สิ่งเร้าที่แท้จริง (unconditioned stimulus) เช่น สุนัขหลั่งน้ าลายเมื่อได้ยินเสียงกระดิ่ง ถอว่าเสยง
ื
็
กระดิ่งเป็น conditioned stimulus และอาหารเปน unconditioned stimulus ก่อให้เกิดการ
ตอบสนองตามธรรมชาติ คือ น้ าลายไหล
้
ู
2.4 พฤติกรรมการเรียนรแบบลองผิดลองถูก (Trial and error learning) เป็น
การเรียนรู้ที่สัตว์เชื่อมโยงพฤติกรรมหนึ่งกับการการได้รางวัลหรือการถูกลงโทษ เมื่อได้รางวัลสัตว์จะ
แสดงพฤติกรรมนั้นซ้ าอก แต่เมื่อถูกลงโทษสัตว์จะหลีกเลี่ยงที่จะแสดงพฤติกรรมนั้นอก เช่น คางคก
ี
ี
เมื่อเห็นแมลงบินผ่านมา จะตวัดลิ้นกินทันที แต่ถ้าแมลงนั้นเป็นผึ้ง คางคกจะถูกต่อย ท าให้คางคก
ี
ื
่
็
จดจ าและเรียนรู้ว่าไม่ควรจับผึ้งกินหรือแมลงที่มีรูปร่างคล้ายผึ้ง หรอการทเด็กเลกๆ เอามอไปแตะ
ื
หม้อแล้วร้อนมือ ต่อไปก็จะไม่แตะหม้ออีก
ู
้
2.5 พฤตกรรมการเรียนรแบบการรู้จักใช้เหตุผล (Insight Learning) เป็นการเรียนร้ขัน
้
ิ
ู
สูงสุด สัตว์สามารถแสดงพฤติกรรมได้ถูกต้องตั้งแต่ครั้งแรกแม้ว่าสัตว์จะไม่เคยมีประสบการณ์มาก่อน
เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง โดยน าเอาประสบการณ์ที่มี ไปแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นโดยไม่ต้องลองท าแต่ใช้
้
ิ
ความคิด เช่น ลงชิมแปนซี ทดลองโดยแขวนกลวยไว้ทเพดานหอง แล้วทิ้งลังไว้ให้หลายลัง มันจะเอา
้
่
ี
ลังมาต่อๆ กัน แล้วปีนขึ้นไปเอากล้วยลงมา หรือแม้แต่ในสภาพธรรมชาติก็พบการเรียนรู้แบบนี้เช่นกัน
เช่น การหาอาหารโดยใช้กิ่งไม้ช่วย
ิ
์
ิ
ิ
ภาควชาชววทยา คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลัยมหาสารคาม
ิ
ี