Page 112 - python
P. 112

86




                          เครื่องหมายดําเนินการ % คือ การหารเอาเศษ เชน 3%2 คือ การนํา 3/2 เหลือเศษ 1  ดังนั้น

                   3%2 เทากับ 1 ในตัวอยางนี้มีจํานวนสมาชิก 6 ดังนั้น 6%2 มีคา 0 คือ หารลงตัว เมื่อหารลงตัวคามัธย
                                                          ั
                   ฐานคือตําแหนงตรงกลาง คือ 3+3/2 มีคาเทากบ 3 โดยคํานวณจาก a+b/2 เมื่อ a คือ ขอมูลที่ตําแหนง
                                                                                  
                   x[int(len(x)/2)-1] และ b คือขอมูลที่ตําแหนง x[int(len(x)/2)]  ผลลัพธที่ไดคือ คามัธยฐานของ [1, 2, 3,
                   3, 5, 7] คือ (3.00 + 3.00/2 มีคาเทากับ 3.00


                   8.3 การเขยนโปรแกรมคํานวณคาฐานนยม (Mode)
                            ี
                                                     ิ
                          คาฐานนิยม (Mode) คือคาทพบบอยที่สุด เชน [3, 2, 3, 5, 7, 1] พบวา เลข 3 พบบอยที่สุด
                                                   ี่
                   ดังนั้น คาฐานนิยม คือ 3

                   ตัวอยางที่ 8.3 การเขียนโปรแกรมคํานวณคาฐานนิยม
                    x = [3, 2, 3, 5, 7, 2, 1]
                    u = list(set(x))

                    m = max(list(map(lambda i: x.count(i), u)))
                                                                          ้
                                                                          ั
                                                      ิ
                           ั
                                                    ่
                                                    ี
                                              ั
                                     
                    print("ตวแปร u มีคา %s พบตวเลขทเกดบอยสุดจํานวน %d ครง ยังไมรูวาเลขอะไร"%(u,m))
                                                                                
                                                                                 
                    for i in u:
                      if x.count(i) == m:
                        print("» พบแลวฐานนิยมคือ คาที่พบบอยสุด %d ครั้ง คือ เลข %d"%(m,i))

                   ผลลัพธ :
                    ตัวแปร u มีคา [1, 2, 3, 5, 7] พบตัวเลขที่เกิดบอยสุดจํานวน 2 ครั้ง ยังไมรูวาเลขอะไร
                    » พบแลวฐานนิยมคือ คาที่พบบอยสุด 2 ครั้ง คือ เลข 2
                    » พบแลวฐานนิยมคือ คาที่พบบอยสุด 2 ครั้ง คือ เลข 3

                          ตัวอยางที่ 8.3 ตัวแปร x มีคา [3, 2, 3, 5, 7, 2, 1] ตัวแปร u มีคาที่ไมซ้ํากันเพราะคําสั่ง set() ใช
                                  ิ้
                   กาจัดคาที่ซ้ํากนทงไป ตัวแปร u จึงมีคา [1, 2, 3, 5, 7]  คําสั่ง lambda i: x.count(i) คือ การนับคา i ที่
                    ํ
                               ั
                                         ี่
                   อยูภายในตัวแปร u วามีกตัว ผลลัพธคือ [1, 2, 2, 1, 1, 1] หมายถึง พบเลข 1 จํานวน 1 ตัว , พบเลข 2
                   จํานวน 2 ตัว , พบเลข 3 จํานวน 2 ตัว พบเลข 5 จํานวน 1 ตัว และพบเลข 7 จํานวน 1 ตัว
                          วนเขาไปในตัวแปร u คือ [1, 2, 3, 5, 7] และตรวจวาคา x.count() ที่มีคาเทากับ m ซึ่งเปนคาท ี่
                                  
                   มีความถี่สูงสุด ถาพบแลวใหพมพคาฐานนิยมดวยคําสั่ง  print("» พบแลวฐานนิยมคือ คาที่พบบอย
                                                
                                             ิ
                   สุด %d ครั้ง คือ เลข %d"%(m,i)) ดังนั้น ผลลัพธจะมีคาฐานนิยมอยู 2 คา คือ เลข 2 และ เลข 3

                   8.4 การเขยนโปรแกรมคํานวณคาเบียงเบนมาตรฐาน
                                                  ่
                            ี
                          คาเบียงเบนมาตรฐาน คํานวณจากสูตร
                              ่
                           

                                                             ∑|   −   | ̅

                                                          =
                                                                   
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117