Page 33 - python
P. 33

7




                       การตั้งชื่อตัวแปร หามขึ้นตนดวยตัวเลขและเครื่องหมายดําเนินตลอดจนสัญลักษณพเศษตาง ๆ แต
                                                                                              ิ
                   สามารถนําตัวเลขตอทายชื่อตัวแปรได และเครื่องหมาย _ (underscore) ถือวาเปนตัวอักษร สามารถนํา
                                      
                   ใชตั้งชื่อตัวแปรได

                       ภาษาไพธอนจะมีตัวแปรพื้นฐาน 6 ชนิดดังตอไปนี้

                          - เลขจํานวนเต็ม (Integer) หมายถึง ขอมูลที่อยูภายในตัวแปรจะเปนเลขจํานวนเต็ม เชน a = 5
                          - เลขทศนิยม (Floating) หมายถึง ขอมูลที่อยูภายในตัวแปรจะเปนเลขทศนิยม เชน b = 3.14
                          - ขอความ (String) หมายถึง ขอมูลที่อยูภายในตัวแปรเปนชนิดขอความ เชน c="Google"
                          - ลีสต (List) หมายถึง ตัวแปรรายการ เชน d = ["Google", "Gmail", "Youtube"]

                          - ทูเพิล (Tuple) จะกลาวถึงในบทที่ 4 เชน e = ("Google","Gmail", "Youtube")
                          - ดิกชันนารี (Dictionary) จะกลาวถึงในบทที่ 6 เชน f = {"one":"หนึ่ง", "two":"สอง"}

                   ตัวอยางที่ 1.5 การประกาศตัวแปรชนิดตาง ๆ

                    a = 5
                    b = 3.14
                    c = "Google"

                    d = ["Google", "Gmail", "Youtube"]
                    e = ("Google","Gmail", "Youtube")

                    f = {"one":"หนึ่ง", "two":"สอง"}
                                                                                 ํ
                          ตัวอยางที่ 1.5 เปนการประกาศตัวแปร ชนิดตาง ๆ ไดแก เลขจานวนเต็ม ทศนิยม ขอความ
                                                                                                   
                                  ิ
                   รายการลีสต ทูเพล และดิกชันนารี โดยแสดงใหเห็นวิธีการประกาศตัวแปรแตละชนิด ซึ่งจะกลาวถง
                                                                                                         ึ
                   รายละเอียดในบทตอไป

                   1.11 ชนิดขอมูลและขนาดจํานวนไบต

                          ภาษาไพธอนประกอบดวยชนิดขอมูลดังตอไปนี้
                   ตารางที่ 1.2 ขนาดของตัวแปรประเภทตาง ๆ
                                   ู
                            กลุมขอมล                                   ขนาด
                    Integer                   12 bytes
                    Long integer              12 bytes + (nbit/16+1) * 2 bytes
                    Floats                    16 bytes

                    Complex                   24 bytes
                    List                      16 bytes + 4 bytes สําหรับแตละสมาชิก
                    Tuple                     20 bytes + 4 bytes สําหรับแตละสมาชิก
                    String                    20 bytes + 1 bytes ตอตัวอักษร

                    Unicode string            24 bytes + 2 bytes ตอตัวอักษร
                    Dictionary                24 bytes + 12*2n bytes, n = log2(nItems)+1

                    Class instance            16 bytes + dictionary object
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38