Page 35 - python
P. 35

9




                   ผลลัพธ :

                    <class 'int'> <class 'float'> <class 'str'>
                                         
                          ตัวอยางที่ 1.8 เปนการประกาศตัวแปร a,c และ e เปนชนิด เลขจํานวนเต็ม ทศนิยม และสตริง
                   ตามลําดับ เมื่อตรวจสอบชนิดตัวแปร ดวยคําสั่ง type(a), type(c) และ type(e) จะใหผลลัพธเปนชนิด
                   int คือเลขจํานวนเต็ม ,  float คือเลขทศนิยม และ str คือขอความสตริง


                   1.15 การแปลงตัวแปรเลขจํานวนเต็ม ทศนิยม และขอความ
                                                                      ั
                          ตัวแปรแตละชนิดจะตองแปลงใหอยูในรูปแบบที่ตรงกบการใชงาน เชน ถาเปนตัวแปรสตริงจะไม
                   สามารถนําไปใชคํานวณเชิงตัวเลข เชน บวก ลบ คูณ หาร ดังนั้น จะตองแปลงตัวแปรขอความเปนตัวเลข
                                                                                           
                   เสียกอน คําสั่งประกอบดวย str() , int() และ float()  พิจารณาตัวอยางตอไปนี้

                   ตัวอยางที่ 1.9 การลบตัวแปร

                    c = "3.14"
                    d = float(c)
                    e = d + 1.2
                    print(d,e)


                   ผลลัพธ :
                    3.14 4.34


                          ตัวอยางที่ 1.9 เปนการประกาศตัวแปร c ใหมคาเปนขอความ "3.14" ซึ่งจะไมสามารถนําไปใช
                                                                 ี
                                                                                              
                                                                                            
                   คํานวณได เนื่องจากเปนขอความ ดังนั้น จะตองแปลงเปนตัวแปรทศนิยมกอน โดยใชฟงกชั่น float() จึง
                                                                     
                   จะสามารถนําไปใชคํานวณเชิงตัวเลขได โดยใหตัวแปร d เปนผลลัพธที่ไดจากการแปลงสตริงเปนทศนิยม
                   ซึ่งตัวแปร d จะเปนตัวแปรชนิดทศนิยมสามารถนําไปใชคํานวณบวกลบ คูณ หารได โดยใหตัวแปร e เปน
                   ผลบวกของตัวแปร d กับ 1.2 ทําใหคา e มีคา 4.34 ซึ่งเปนตัวแปรทศนิยม สามารถตรวจสอบตัวแปรดวย
                                                     ี
                   คําสั่ง type(d) และ type(e) จะพบวามชนิดเปนตัวแปรทศนิยม สวนตัวแปร c ตรวจสอบดวยคําสั่ง
                   type(c) จะพบวามีตัวแปรเปนชนิดสตริงหรือขอความ


                   1.16 การรับขอมูลจากแปนพิมพมาเก็บในตัวแปร
                                                   
                                                ิ
                          การรับขอมูลจากแปนพมพใน Python 2 มีคําสั่งรับคาขอมูลจากคียบอรด 2 คําสั่ง คือ
                                  
                   raw_input() รับคาสตริง และและ input() รับคาตัวเลข แตใน Python 3 เหลือเพียงคําสั่งเดียวคือ คําสั่ง
                   input() รับคาเปนขอความเพียงอยางเดียว ดังนั้น เมื่อตองการนําคาที่รับเขามาจากคียบอรดไปคํานวณเชิง
                                                    
                   ตัวเลขตองทําการแปลงขอมูลที่ปอนเขามาซึ่งอยูในตัวแปรชนิดขอความและแปลงเปนชนิดตัวเลขกอน
                                        
                                               
                                                                                                       
                    ํ
                   นาไปใชงาน ดังตัวอยางตอไปนี  ้
                         
                                        

                   ตัวอยางที่ 1.10 การรับคาตัวแปร
                    q = input("กรุณาปอนเลขทายสองตัวงวดนี้ :")
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40