Page 50 - ปฎิบัติการชีววิทยา 1
P. 50

ี
                                                    ี
                   ปฏบัติการชววิทยา 1 [Biology Laboratory I] ภาควิชาชววิทยา คณะวิทยาศาสตร มมส.
                     ิ
                                                                   ์
          38       ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อาจินต์ ไพรีรณ
              34 | ป ฏิบั ติก า ร ชีว ว ท ย า 1
                                 ิ

              วัสดุและอุปกรณ  
                   1.  กลองจุลทรรศนชนิด compound microscope
                   2.  สไลดและกระจกปดสไลด

                   3.  ปากคีบ เข็มเขี่ย มีดโกน
                   4.  ตะเกียงแอลกอฮอล ไมขีดไฟ
                   5.  สียอม 1% aceto-orcein

                        ํ
                   6.  น้ายารักษาเนื้อเยื่อ (fixative ประกอบดวย glacial acetic acid: absolute ethanol
                       =1:3)

                   7.  สารละลายกรดเกลือ 5% (HCl)
                   8.  ปลายรากหอม และดอกหอมหรือดอกกุยชาย

                   9.  จานอาหารเลี้ยงเชื้อ (Petri dish)
                   10. น้ํากลั่น
                   11. กระดาษทิชชู  


              การเตรียมรากหอม

                     นําหัวหอมมาเฉือนบริเวณโคนระวังไมใหลึกมากนัก   นําไปเพาะในกระบอกหรือแกวที่มีน้ํา
              ทวมถึงโคนหัวหอม ทิ้งไวประมาณ 1-2 วน จะมีรากงอกออกมา ตัดเอารากหอมในชวงเชา (09.00-
                                               ั
                                                                                   
                                                                                
              12.00 น.) เพราะเปนชวงที่มีการแบงตัวมาก รากหอมที่ไดจะมีลักษณะดงภาพที่ 3.6
                                                                     ั





                                                  บริเวณ maturation (root hair zone) 1-3 cm



                                                  บริเวณ elongation 3-4 mm




                                                  บริเวณ division (growing point) 1 mm






                                                  หมวกราก (root cap)


                                                                        
               ภาพที่ 3.6  ลักษณะและพื้นที่บริเวณตางๆ ของรากหอม (ที่มา: คณาจารยภาควิชาชีววิทยา, 2546)




                       ิ
                     ี
                  ิ
                                          ิ
                                      ์
                              ิ
              ภาควชาชววทยา คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลัยมหาสารคาม
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55