Page 92 - ปฎิบัติการชีววิทยา 1
P. 92
์
ี
ี
ปฏบัติการชววิทยา 1 [Biology Laboratory I] ภาควิชาชววิทยา คณะวิทยาศาสตร มมส.
ิ
80 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชนิดาพร ตุ้มปี่สุวรรณ, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาสกร บุญชาลี
ิ
70 | ปฏ บั ต การชี วว ทยา 1
ิ
ิ
3. ใบ (Leaf)
ื
้
ิ
่
์
ํ
็
เปนโครงสร้างทีเกดจากขอของพช โดยมากมีลักษณะแบน ทําหนาทีสังเคราะหแสง คายน้า
้
่
้
๊
่
และแลกเปลียนกาซ ประกอบดวย 2 ส่วนท ี ่
สําคญ คอ แผ่นใบ (lamina หรอ blade)
ั
ื
ื
และก้านใบ (petiole หรอ leaf stalk) และ
ื
ในพชบางชนิดอาจมีหใบ (stipule) ซึงทํา
่
ู
ื
่
่
้
หนาทปกปองใบออน (ภาพท 6.3)
ี
่
ี
้
้
่
ลักษณะใบทีสามารถใชในการ
ี
่
ี
่
ิ
้
่
ื
ํ
จาแนกพช ไดแก ชนดของใบ (ใบเดยว และ ภาพท 6.3 ส่วนประกอบของใบ
่
่
ใบประกอบ) (ภาพท 6.4 และ 6.5) รปร่าง (ทีมา: กองกานดา, 2545)
ู
่
ี
ใบ
ี
่
(ภาพท 6.6) รปรางปลายใบและโคนใบ (ภาพท 7) รปร่างขอบใบ (ภาพท 8) การเรยงตวของใบ
ู
ู
ี
่
ี
ี
่
่
ั
ี
่
้
(ภาพท 6.9) เป็นตน
่
่
็
้
ี
่
ี
3.1 ใบเดยว (simple leaf) เปนใบทีมีแผ่นใบเพยง 1 แผ่นบนกานใบ เชน ใบมะม่วง
ี
(ภาพท 6.4ก)
่
3.2 ใบประกอบ (compound leaf) เปนใบทีมีแผ่นใบมากกวา 1 แผ่นบนกานใบ มี 2
่
็
้
่
ื
แบบยอยคอ (ภาพท 6.4ข)
่
ี
่
้
ิ
3.2.1 ใบประกอบแบบนวมือ (palmately compound leaf) มีใบยอยแตกออก
่
่
ี
้
่
้
ิ
จากปลายกานใบ เชน ยางพารา งว (ภาพท 6.5)
3.2.2 ใบประกอบแบบขนนก (pinnately compound leaf) มีใบยอยแตกออกจาก
่
่
ี
่
แกนกลาง (rachis) แบบสลับหรอเปนคตรงข้าม คล้ายขนนก เชน ใบมะขาม กระถิน (ภาพท 6.5)
่
ู
็
ื
โครงสรางของใบประกอบ
้
แบบขนนก 2 ชั้น
่
ิ
ี
้
ภาพท 6.4 ซ้ายมือแสดงชนดของใบ ขวามือแสดงโครงสรางของใบประกอบ
ิ
(ทมา: ราชบณฑตยสถาน, 2541)
่
ี
ั
ิ
ิ
ิ
์
ิ
ี
ภาควชาชววทยา คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลัยมหาสารคาม