Page 96 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 96

กลไกการมีสวนรวมจากหนวยงานภาคีและเอกชน  การมีสวนรวมจากภาคีและภาคเอกชนเปนกลไกที่ชวย
                                                            ึ
                                                          ิ
                   ผลักดันใหความสำเร็จของรัฐบาลดิจิทัลชัดเจนย่งข้น อาทิ การมีสวนรวมในการคิด การกำหนดนโยบาย
                                                                                        ึ
                                                                                    ี
                                                                          ึ
                   การวางแผน แบงปนขอมูล ตลอดจนการสนับสนุนดานงบประมาณ เปนตน ซ่งเปนทิศทางท่เกิดข้นในการดำเนินงาน
                                                                         ื
                                                   ั
                   ดานรัฐบาลดิจิทัลของตางประเทศ    ดังน้นการสงเสริมพัฒนาการจัดซ้อจัดจางภาครัฐใหใชงานงาย  และให
                   SMEs  สามารถเขาถึงการใหบริการกับรัฐได  ผานการลดขอจำกัดในการเขาถึงการแขงขัน  และระบบจัดซื้อ
                          ี
                   จัดจางท่เปนมิตรกับผูใชงาน โดยการสนับสนุนความรวมมือในลักษณะของการทำ Digital Testbed
                   เปดขอมูลใหเอกชนพัฒนาบริการของรัฐ หรือ การทำ Digital Sandbox ในการละเวนระเบียบบางประการ
                     ื
                   เพ่อพัฒนาบริการนำรอง จะชวยใหเกิดการมีสวนรวมระหวางภาคีได

                   กลไกการปรับปรุงโครงสรางระบบราชการดานบุคลากรภาครัฐ (Agile Unit)  ยกระดับบุคลากรภาครัฐให
                                                   ี
                   ทำงานภายใตสภาพแวดลอมและบริบทท่เปล่ยนแปลง โดยสงเสริมใหภาคเอกชน หรือบุคลากรภายนอกเขามา
                                                      ี
                      
                    ี
                                                      ั
                                                                        ี
                                     ั
                   มสวนรวมในการยกระดบการทำงานของภาครฐ เชน การนำเทคโนโลยมาลดภาระงานประจำ และพัฒนาทักษะ
                                                                                      ี
                   ของบุคลากรรัฐ พรอมสรางเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career Path) ท่ชัดเจนใหกับงานท่ม ี
                                                                                                     ี
                   ความสำคัญตามบริบทของโลกดิจิทัล หรือ การจัดต้งคณะทำงานดาน Digital Transformation ของ
                                                             ั
                                          ี
                                           ี
                                                   ื
                   หนวยงานตามตำแหนงหนาท่ท่สำคัญ เพ่อพัฒนางานบริการรัฐโดยเฉพาะ
                                                                                             ี
                   กลไกการติดตามและประเมินผลโครงการ การติดตามและประเมินผลโครงการ เปนกลไกท่สะทอนวา
                   แผนงาน/โครงการท่หนวยงานรัฐดำเนินการมีผลสัมฤทธิ์ (Efficiency) ประสิทธิผล (Effectiveness) ผาน
                                   ี
                   การประเมินผลผลิต ผลลัพธ และผลกระทบเทียบกับเปาหมาย และตนทุนโครงการ จึงควรมีการพัฒนา
                   ชุดขอมูลการดำเนินงานโครงการ  ต้งแตการของบประมาณ  ติดตามการดำเนินงาน  การประเมินผล
                                                 ั
                                                                                           ื
                   ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน ไปจนถึงการเบิกจายงบประมาณโครงการ ตองมีการเช่อมโยงขอมูล
                                                                     ื
                                                                 
                                        ี
                        ี
                                       ี
                   เหลาน้รวมกับหนวยงานท่เก่ยวของในการรวบรวมขอมูลดังกลาว เพ่อตรวจสอบติดตาม และประเมินผลโครงการ
                   ของแผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ไดอยางมีประสิทธิภาพ
                   กลไกการรวมงานกับรัฐบาลทองถ่น (Local Government) การสงเสริมใหรัฐบาลทองถ่นมีสวนรวม
                                                                                            ิ
                                               ิ
                   ในการกำหนดนโยบาย หรือบริการท่เหมาะสมกับพ้นท่และบริบทของพ้นท่ตนเอง ผานการเปดชองทาง
                                                                               ี
                                                            ื
                                                               ี
                                                                            ื
                                                 ี
                                                                                 ิ
                   ความรวมมือในการนำเสนอโครงการ หรือกระบวนการทำงานระหวางของทองถ่น สะทอนกลับสูสวนกลาง
                   จะทำใหเกิดการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลจากฐานรากมากขึ้น


















                   95
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101