Page 75 - คู่มือการประเมินวัฎจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตร
P. 75

75



               5 บทสรุป






                                                                                        ็
                        ่
                       คูมือการประเมินวัฏจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตรเล่มนี เปนผลผลิตจากงานวิจัย
                                                                                     ้
               ของผู้เขียน ซึงประกอบไปด้วย 4 ขั้นตอนหลักคือ 1) การก าหนดเปาหมายและขอบเขตของการศึกษา
                                                                             ้
                            ่
                                                             ั
                                                          ู
               (อธบายไวในบทท 2) 2) การรวบรวมขอมลบญชรายการทางสงคม (อธบายไวในบทท 3) 3)
                                 ี
                                                                               ั
                                                                 ี
                                 ่
                          ้
                                                                                               ้
                                                       ้
                                                                                                       ี
                                                                                                      ่
                                                                                        ิ
                   ิ
               วิธีการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิตทางสังคม และ 4) การแปลผลการศึกษา (อธิบายไว้ในบทที 4)
                                                                                                        ่
                                                                                   ่
                                                ้
                                                                                                       ั
                                                   ็
                       ข้อมูลทางสังคมในงานวิจัยนี เปนการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เกียวกับสภาพสังคมในปจจุบัน
                                                                    ็
                        ่
               ส าหรับแตละประเด็นย่อยทางสังคม โดยประเมินการรับรู้เปน 3 ระดับ (ต า ปานกลาง และดี) ระดับเหล่านี  ้
                                                                                ่
               ถูกแปลงเปนคะแนนประสิทธิภาพทางสังคม ซึงแปลความหมายได้ดังนี ระดับต า หมายถึงต ากว่ามาตรฐาน
                                                                                               ่
                                                        ่
                                                                              ้
                         ็
                                                                                    ่
                                           ้
               หากมีมาตรฐานส าหรับตัวชีวัดนั้น ๆ (สีแดง) ระดับปานกลาง (สีเหลือง) และระดับดี (สีเขียว)
               หมายถึงผ่านมาตรฐาน หากมีมาตรฐานส าหรับตัวชีวัดนั้น ๆ
                                                            ้
                       การถวงนาหนักในวิธีการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิตทางสังคม (S-LCIA method)
                            ่
                                ้

                            ่

                 ่
                                                                              ้
                                                                 ่
               ทีนาเสนอในคูมือเล่มนี มีวัตถประสงค์เพือให้ได้ผลลัพธ์ทีสามารถช่วยชีให้ผู้ก าหนดนโยบาย และหนวยงาน
                                         ุ
                                                   ่
                                   ้
                                                                                                       ่
                    ๆ
                 ่
               ตาง    ทีเกียวข้องทราบถึงประเด็นส าคัญทางสังคมทีต้องปรับปรุง หรือให้ความสนใจมากขึน
                                                                                                           ้
                           ่
                                                                     ่
                        ่
               โดยใช้ความส าคัญของแตละประเด็นย่อยทางสังคม มาปรับค่าคะแนนประสิทธิภาพทางสังคม
                                         ่
               หากประเด็นย่อยทางสังคมใด มีความส าคัญสูง จะมีคะแนนความส าคัญต า  ดังนั้น
                                                                                                   ่
                                                                ่
                                                                                  ่
                                                                                                       ่
               คะแนนประสิทธิภาพทางสังคม จะถูกปรับค่าลดลง เพือให้ประเด็นนั้น อยูในความสนใจ ของผู้เกียวข้อง
                                                       ่
                                                   ็
                                                         ่
               ในการวางนโยบาย เพือพัฒนาความเปนอยูทีดี ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์
                                    ่
               เกษตร
                                                                                                           75
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80