Page 29 - ebook.msu.ac.th
P. 29

18


                                                         บทที่ 4

                                                       อักษรขอม



                       กรรณิกำร์ วิมลเกษม (2552 : 23) ได้กล่ำวถึงกำรใช้อักษรขอมไทยว่ำ จำกหลักฐำนที่เป็นจำรึกอกษร
                                                                                                     ั
               ขอมไทย  แสดงให้เห็นอย่ำงชัดเจนว่ำคนไทยสมัยสุโขทัยได้ศึกษำเรียนรู้อักษรขอมไทยจนสำมำรถน ำมำใช้
                                                                                ั
               บันทึกเรื่องรำวต่ำงๆ ได้ทั้งภำษำไทย ภำษำบำลีและภำษำเขมร ได้มีกำรใช้ตัวอกษรชนิดนี้สืบต่อมำในสมัย
               อยุธยำจนถึงสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ต่อมำในช่วงประมำณพทธศตวรรษที่ 25 ได้มีกำรพิมพ์พระธรรมค ำสอน
                                                               ุ
               และหนังสือต่ำงๆ เกิดขึ้น ส่งผลให้กำรใช้อักษรขอมไทยจำรลงในใบลำนหรือเขียนลงสมุดไทยลดน้อยลง
               ตำมล ำดับเช่นเดียวกับกำรเรียนกำรสอนอักษรขอมไทยในวัดจนยุติลงในที่สุด  แต่โดยเหตุที่ตัวอักษรขอมไทย
               ใช้บันทึกพระธรรมค ำสอนที่เป็นภำษำบำลีและวรรณกรรมทำงพทธศำสนำต่ำงๆ เป็นส่วนใหญ่คนไทยทั่วไปจึง
                                                                    ุ
               นิยมยกย่องว่ำเป็นตัวอักษรศักดิ์สิทธิ์ ใช้เขียนคำถำและยันต์ต่ำงๆ มำโดยตลอด  ดังนั้นปัจจุบันจึงพบเห็นกำร

                     ั
               เขียนอกษรขอมไทยในลักษณะนี้เท่ำนั้น
















                  ตัวอย่ำงอักษรขอม ภำษำบำลี ในต ำรำยำสมุดไทยขำว    ตัวอย่ำงยันต์อักษรขอม ในต ำรำยำสมุดไทยขำว


                       ตัวอักษรขอมไทยแบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้
                              1. พยัญชนะ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
                                     1.1 พยัญชนะตัวเต็ม  จ ำนวน 42 รูป

                                     1.2 พยัญชนะตัวเชิง  จ ำนวน  37 รูป
                              2. สระ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก  ่
                                     2.1 สระลอย  จ ำนวน  12 รูป
                                     2.2 สระจม  จ ำนวน  22 รูป

                              3. เครื่องหมำย แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
                                     3.1 เครื่องหมำยประกอบค ำ 6 รูป
                                     3.2 เครื่องหมำยบอกล ำดับหน้ำลำน (อังกำ)
                              4. ตัวเลข 0-9


                       4.1 พยัญชนะ แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่
                              1) พยัญชนะตัวเต็ม  จ ำนวน 42 รูป
                              1) พยัญชนะตัวเชิง  จ ำนวน  37 รูป
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34