Page 25 - ebook.msu.ac.th
P. 25

15


               ตัวอักษรโบรำณที่พบใช้ในช่วงเวลำดังกล่ำวมีหลำยชนิดดังนี้ อักษรไทยสมัยสุโขทัย สมัยอยุธยำ และสมัย
               รัตนโกสินทร์ อักษรขอมไทย อักษรธรรมล้ำนนำ อักษรฝักขำม อักษรไทยนิเทศ อักษรธรรมอีสำน และ

               อักษรไทยน้อย
                             ั
                       กำรรับอกษรโบรำณชนิดต่ำงๆ มำดัดแปลงใช้นั้น มี 2 ลักษณะ คือ
                       1. รับโดยปรับเปลี่ยนรูปแบบอักษรและอักขรวิธี ซึ่งเป็นกลุ่มตัวอักษรประเภทที่ 1 ได้แก่ อักษรไทย
                                      ั
               สุโขทัย ซึ่งสันนิษฐำนว่ำได้พฒนำมำจำกอักษรขอมโบรำณและมอญโบรำณเป็นส ำคัญ อกษรไทยสุโขทัยในพุทธ
                                                                                       ั
                        ี่
               ศตวรรษท 19 – 20 และได้แพร่กระจำยตัวอักษรของตนไปยังอำณำจักรข้ำงเคียง กล่ำวคือ ได้พัฒนำไปเป็น
               อักษรไทยอยุธยำ และต่อเนื่องมำจนถึงรัตนโกสินทร์ จนเป็นอักษรไทยปัจจุบัน และพัฒนำไปเป็น “อักษรฝัก
                                        ุ
               ขำม” ในล้ำนนำ ซึ่งใช้ตั้งแต่พทธศตวรรษที่ 20 – 24 จึงพัฒนำเป็น “อักษรไทยนิเทศ” และนอกจำกนี้แล้ว
               อักษรฝักขำมยังได้พัฒนำไปเป็น “อักษรไทยน้อย” ที่ใช้ในอำรำจักรล้ำนช้ำงและภำคอีสำนของไทย ซึ่งพบ

               หลักฐำนกำรใช้ตั้งแต่พุทธศตวรรษที่ 21 – 24 ส่วนประกอบของตัวอักษรกลุ่มนี้ไม่มพยัญชนะตัวเชิงและรูป
                                                                                   ี
                                                                                      ้
               สละลอย ท ำให้มีอกขระวิธีที่แตกต่ำงออกไปจำกตันแบบ เช่น ไม่มีกำรเขียนพยัญชนะซอนในแนวตั้ง แต่เขียน
                              ั
               เรียงต่อกันในแนวนอนรวมทั้งตัวสะกดด้วย นับเป็นกำรปรับเปลี่ยนระบบอักขรวิธีให้เขียนง่ำยขึ้นมำกและไม่
               ต้องจดจ ำรูปพยัญชนะเป็นจ ำนวนมำก

                       2. รับทั้งตัวอักษรและอักขระวิธีมำทั้งระบบ ได้แก อักษรขอมไทย อกษรธรรมล้ำนนำ และ อักษร
                                                               ่
                                                                              ั
                             ็
               ธรรมอีสำน ซึ่งกได้แก่กลุ่มอักษรประเภทที่ 2 นั่นเอง อักษรขอมไทยนั้นพัฒนำมำจำกอักษรขอมโบรำณ และใช้
               มำตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงรัตนโกสินทร์ (พุทธศตวรรษที่ 20 – 24) ส่วนอักษรธรรมล้ำนนำนั้นพัฒนำมำจำก
               อักษรอักษรมอญโบรำณและอำณำจักรล้ำนนำมำตั้งแต่พุทธศตวรรษท 20 – 24 เช่นเดียวกัน
                                                                        ี่
                                                   ั
               นอกจำกนี้ตัวอักษรล้ำนนำได้พัฒนำไปเป็นอกษรธรรมอีสำน โดยผ่ำนอำณำจักรล้ำนช้ำง มีหลักฐำนกำรใช้
               อักษรชนิดนี้ในประเทศไทย ตั้งแต่พทธศตวรรษที่ 22 – 24 ส่วนประกอบของตัวอักษรกลุ่มนี้คงตำมต้นแบบทุก
                                             ุ
               ประกำร ท ำให้มีอักขรวิธีโดยรวมเช่น กำรเขียนตัวพยัญชนะซ้อนกันในแนวตั้ง เหมือนกับต้นแบบ
               เวลำของพัฒนำกำรในช่วงนี้ ตั้งแต่ประมำณพุทธศตวรรษที่ 19 – 24 เป็นเวลำนำนถึง 600 ปี ที่บรรพบุรุษไทย

               ต่ำงก็ได้ใช้ตัวอักษรถึง 7 ชนิด ที่ใช้เวลำในกำรพัฒนำกว่ำ 600 ปี มำบันทึกสรรพวิทยำกำรต่ำงๆ ให้เป็นมรดก
               แก่ชนรุ่นหลังมำจนถึงทุกวันนี้ ดังจะได้แสดงแผนผังสันนิษฐำนพัฒนำกำรของอักษรโบรำณในประเทศไทย
                     ุ
               ตั้งแต่พทธศตวรรษที่ 11 – 24 ดังต่อไปนี้
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30