Page 74 - ebook.msu.ac.th
P. 74

60


               มีกำรท ำสังคำยนำพระธรรมวินัยขึ้น และคัมภีร์เหล่ำนั้นได้แพร่กระจำยไปสู่อำณำจักรล้ำนช้ำงในสมัยพระเจ้ำวิ
                                                                                                    ั
               ชุลรำชบ้ำง ในสมัยพระเจ้ำโพธิสำลรำชบ้ำง ในสมัยพระเจ้ำไชยเชษฐำธิรำชบ้ำง ดังกล่ำวข้ำงต้น ท ำให้อกษรฝัก
                        ั
                                                                                               ุ
               ขำม (ซึ่งพฒนำมำจำกอกษรไทยสมัยพระยำลิไทที่พระสุมนเถระน ำเข้ำไปพร้อมกับกำรเผยแผ่พทธศำสนำใน
                                   ั
               ดินแดนล้ำนนำในสมัยเดียวกันกับพระสุวรรณคีรีเถระที่มำเผยแผ่ศำสนำในล้ำนช้ำง) ที่ใช้กันอย่ำงแพร่หลำยใน
               ล้ำนนำในสมัยนั้นแพร่กระจำยเข้ำสู่ดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขงเป็นอย่ำงมำก ฉะนั้นตัวอกษรฝักขำมซึ่งมีลักษณะ
                                                                                     ั
                                                         ิ
                                                                                                     ู
                                                                                                  ิ่
                        ั
               คล้ำยกับอกษรสุโขทัยสมัยพระยำลิไทซึ่งเข้ำไปมีอทธิพลอยู่ในดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขงอยู่ก่อนแล้วยิ่งเพมพนมำก
                                                                                                     ั
                       ั
                                                              ั
               ขึ้น ตัวอกษรสุโขทัยสมัยพระยำลิไทผสมผสำนกับตัวอกษรฝักขำมที่เข้ำไปสู่ดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขงได้พฒนำ
                                                                                       ั
               รูปแบบอกษรเป็นเอกลักษณ์เฉพำะของกลุ่มคนลุ่มแม่น้ ำโขง ในที่สุดรูปแบบสัณฐำนก็พฒนำต่ำงไปจำกอกษร
                       ั
                                                                                                      ั
                                                                                               ั
               ต้นแบบจึงมีชื่อเรียกว่ำ “อกษรไทยน้อย” และอกษรไทยน้อยในระยะแรกนี้ได้เป็นต้นแบบของอกษรไทยน้อย
                                     ั
                                                       ั
               ในระยะหลัง รวมถึงตัวอักษรลำวในปัจจุบันด้วย
                                                  ั
                                                                                           ุ
                              2.2 เหตุผลทำงด้ำนตัวอกษร จำกกำรศึกษำศิลำจำรึกที่สร้ำงขึ้นในสมัยพทธศตวรรษที่ 21
               ตอนปลำย ในดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขงพบว่ำ อกษรไทยน้อยมีลักษณะเดียวกันกับอกษรฝักขำมในภำคเหนือ ทั้ง
                                                   ั
                                                                                  ั
                                                          ั
                             ั
               รูปแบบและตัวอกษร และมีอกษรธรรมบำงตัวและอกขรวิธีของอกษรธรรมบำงส่วนเข้ำมำปะปนกับอกษรไทย
                                                                     ั
                                                                                                  ั
                                       ั
                                      ื้
               น้อย (กำรใช้พยัญชนะตัวเฟอง เป็นต้น)  ซึ่งรูปแบบดังกล่ำวก็คือรูปแบบอกษรยวนของเชียงใหม่เข้ำมำปะปน
                                                                             ั
                                                                                                 ี
               กับอักษรฝักขำม ฉะนั้นจึงเชื่อได้ว่ำอักษรไทยน้อยนั้นได้รับอทธิพลจำกอกษรฝักขำมของภำคเหนืออกสมัยหนึ่ง
                                                                ิ
                                                                          ั
               และได้พัฒนำรูปแบบสัณฐำนและอักขรวิธีเป็นเอกลักษณ์เฉพำะของตนแบบค่อยเป็นค่อยไป จำกอกษรฝักขำม
                                                                                                ั
               และอักษรสุโขทัยสมัยพระยำลิไทมำกขึ้นตำมล ำดับ
                       อักษรไทยน้อยที่ถือว่ำเป็นต้นแบบของอกษรไทยน้อยในปัจจุบันซึ่งพบเห็นกำรคลี่คลำยที่เริ่มแตกต่ำง
                                                       ั
               จำกอักษรไทยสมัยสุโขทัย โดยได้พบวิธีกำรเขียนที่ใช้พยัญชนะซ้อนกันสองตัวแบบย่อ โดยที่พยัญชนะตัวหน้ำ
               ใช้ตัวเต็ม ส่วนพยัญชนะตัวหลังใช้ครึ่งตัวหลัง โดยจะเห็นกำรใช้มำกในสมัยหลัง ได้แก่ กำรเขียน ห น ำ คือ ห
               น ำ ม ( <) และ ห น ำ น ( O) ซึ่งวิธีกำรดังกล่ำวไม่พบในอกขรวิธีอกษรสมัยสุโขทัย วิธีกำรเขียนดังกล่ำวเริ่ม
                                                                 ั
                                                                        ั
               ปรำกฏในจำรึกแดนเมือง (พ.ศ. 2073) เป็นต้นมำ

                       7.2 พยัญชนะ   พยัญชนะเดี่ยวอักษรไทยน้อยมี 27 รูป คือ
                      d              -             8              '             0              =
                       ก             ข/ฃ            ค/ฅ/ฆ         ง             จ             ช/ซ/ฌ

                       f             9             5              m             o              [
                       ด/ฑ/ฎ         ต/ฏ           ถ/ฐ            ท/ฒ/ธ         น              บ

                       x             z             /              r             a              ,


                       ป             ผ             ฝ              พ/ภ           ฟ              ม

                       p             ร             ]              ;             l              s


                       ย/ญ           ร             ล/ฬ            ว            ส/ฉ/ศ/ษ         ห
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79