Page 73 - ebook.msu.ac.th
P. 73

59


               พระธรรมคัมภีร์ 60 คัมภีร์ไปเผยแผ่ที่อำณำจักรล้ำนช้ำงด้วย และในสมัยพระเจ้ำไชยเชษฐำธิรำช พระโอรส
               ของพระเจ้ำโพธิสำลรำช ได้เสด็จไปครองเมืองเชียงใหม่อยู่ระยะหนึ่ง (พ.ศ.  2091 - 2093)  เมื่อพระเจ้ำโพธิสำล

                                                                            ุ
               รำชสวรรคตก็ได้กลับไปครองอำณำจักรล้ำนช้ำง พร้อมทั้งได้น ำเอำพระพทธรูปและพระธรรมคัมภีร์ ตลอดถึง
                                                                                                    ิ
                                                                        ั
               นักปรำชญ์รำชบัณฑิต และช่ำงฝีมือกลับไปด้วย จึงเป็นไปได้ว่ำอกษรฝักขำมของล้ำนนำเข้ำมำมีอทธิพล
                                   ั
                   ั
               ต่ออกษรไทยน้อย ซึ่งอกษรฝักขำมนั้นก็ได้คลี่คลำยหรือพฒนำมำจำกอกษรไทยสุโขทัยสมัยพระยำลิไท
                                                                  ั
                                                                              ั
               เหมือนกัน ฉะนั้นกำรแพร่กระจำยของอักษรสุโขทัยเข้ำสู่ดินแดนอำณำจักรล้ำนช้ำง หรือชุมชนลุ่มแม่น้ ำโขงนั้น
               สรุปจำกที่ศำสตรำจำรย์ธวัช ปุณโณทก ได้กล่ำวสรุปไว้ 2 ระยะด้วยกัน ดังนี้
                       1. ระยะแรกของกำรแพร่กระจำยอักษรสุโขทัยเข้ำสู่ลุ่มแม่น้ ำโขงโดยตรง
                              1.1 เหตุผลทำงด้ำนประวัติศำสตร์ จำกหลักฐำนทำงด้ำนประวัติศำสตร์พบว่ำ อำณำจักร
                                                              ั
               สุโขทัยได้ติดต่อกับดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขงและมีควำมสัมพนธ์อย่ำงใกล้ชิดในฐำนะที่เป็นรัฐไทยด้วยกัน เช่น ใน
               สมัย          พอขุนรำมค ำแหงได้กล่ำวถึงดินแดนอำณำจักรสุโขทัยและชุมชนลุ่มแม่น้ ำโขงหลำยครั้งในศิลำ
                            ่
               จำรึกของ            พ่อขุนรำมค ำแหง (หลักที่ 1) เช่น
                              - “…ทั้งมำลำวกำวและไทย เมืองใต้หล้ำฟ้ำ…ไทยชำวอูชำวของมำออก”
                              - “…เท่ำฝั่งของถึงเวียงจันทน์เวียงค ำเป็นที่แล้ว…”
                              ในสมัยพระยำลิไท ดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขงได้มีผู้น ำชุมชนรวบรวมเป็นรัฐเอกรำชชื่อว่ำพระเจ้ำ

               ฟ้ำงุ้ม ซึ่งเป็นกำรเริ่มต้นประวัติศำสตร์ในดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขงสืบต่อมำ ส่วนพระยำลิไทเองก็ยอมรับควำมเป็น
               เอกรำชของพระเจ้ำฟ้ำงุ้ม ดังปรำกฏในศิลำจำรึกหลักที่ 8 (เขำสุมนกูฏ) ว่ำ

                              “…เบื้องตะวันออก…เถิงของพระญำท้ำวฟำงอม…”
                              จำกข้อควำมนี้แสดงให้เห็นว่ำพระยำลิไทนั้นทรงยอมรับควำมเป็นรัฐที่อยู่ในกำรปกครองของ
               พระเจ้ำฟ้ำง้อม (ฟ้ำงุ้ม) ว่ำเป็นรัฐอิสระหรือเป็นรัฐเอกรำช
                              ในต ำนำนมูลศำสนำซึ่งเป็นต ำนำนกำรเผยแผ่ศำสนำ ได้กล่ำวถึงพระภิกษุเมืองสุโขทัย 8 รูปที่
                          ุ
               ศึกษำพระพทธศำสนำที่ส ำนักพระอทุมพรมหำสวำมี แห่งเมืองพน (ลัทธิลังกำวงศ์แบบรำมัญ) ซึ่งเป็น
                                               ุ
                                                                         ั
                     ุ
               พระพทธศำสนำที่ฟนฟขึ้นในรัชสมัยพระยำลิไท ครั้นกลับมำถึงสุโขทัยแล้วต่ำงแยกย้ำยกันไปเผยแผ่พทธ
                                ื้
                                                                                                       ุ
                                   ู
                                                                                                       ุ
               ศำสนำนิกำยลังกำวงศ์แบบรำมัญในรัฐที่เป็นชนชำติไทย โดยได้กล่ำวถึงพระสุวรรณคีรีเถระไปเผยแผ่พทธ
               ศำสนำที่     หลวงพระบำงว่ำ
                              “…เจ้ำสุวัณณคีรีเอำศำสนำไปประดิษฐำนในเมืองชวำ (ชื่อเดิมของเมืองหลวงพระบำง)…”
                                                         ั
                                                                                       ุ
                              1.2 เหตุผลทำงด้ำนรูปแบบตัวอกษร พระสุวรรณคีรีเถระที่น ำพระพทธศำสนำไปเผยแผ่ที่
                                                                                                 ุ
               เมืองหลวงพระบำง ก็คงจะน ำเอำตัวอกษรสุโขทัยสมัยพระยำลิไทไปใช้บันทึกเรื่องรำวทำงพทธศำสนำ
                                                 ั
               เช่นเดียวกัน       ซึ่งเป็นกำรแพร่กระจำยอกษรสุโขทัยเข้ำสู่ดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขงด้วย เช่น จำรึกลำยเขียนสีที่
                                                   ั
                          ั
                                                                                            ั
               ผนังถ้ ำนำงอน (ห่ำงจำกเมืองหลวงพระบำงไปทำงทิศตะวันตก 25 กิโลเมตร)  เป็นตัวอย่ำงอกษรสุโขทัยสมัย
               พระยำลิไท ที่เข้ำสู่ดินแดน    ลุ่มแม่น้ ำโขงในสมัยนั้น ส่วนศิลำจำรึกวัดแดนเมือง สร้ำง พ.ศ. 2073 ซึ่งเป็น
                                                                                                 ั
               ระยะเวลำที่ห่ำงกันมำก พบว่ำ มีอกขรวิธีของอกษรตัวธรรมเข้ำมำปะปนบ้ำง แต่รูปแบบตัวอกษรยังไม่
                                                         ั
                                              ั
                                                   ั
               เปลี่ยนแปลงมำกนัก แสดงให้เห็นว่ำตัวอกษรสุโขทัยในสมัยพระยำลิไทนั้น ก็ยังใช้สืบเนื่องมำจนถึงยุคที่
               วัฒนธรรมจำกอำณำจักรล้ำนนำเชียงใหม่เข้ำมำมีอิทธิพลต่อดินแดนลุ่มแม่น้ ำโขง
                       2. ระยะที่ 2 เป็นกำรแพร่กระจำยอกษรสุโขทัยเข้ำสู่ลุ่มแม่น้ ำโขงโดยผ่ำนทำงอำณำจักรล้ำนนำเชียงใหม่
                                                  ั
                              2.1 เหตุผลทำงด้ำนประวัติศำสตร์ ชุมชุนลุ่มแม่น้ ำโขงมีควำมใกล้ชิดกับภำคเหนือหรือ
               อำณำจักรล้ำนนำมำโดยตลอด โดยเฉพำะสมัยตอนปลำยรำชวงศ์มังรำย นับตั้งแต่สมัยพระเจ้ำติโลกรำช (พ.ศ.
               1984 - 2030) เป็นต้นมำ พระพุทธศำสนำเจริญรุ่งเรืองมำก พระสงฆ์มีควำมสันทัดในพระไตรปิฎกตลอดถึงได้
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78