Page 72 - ebook.msu.ac.th
P. 72

58


                                                         บทที่ 7

                                                      อักษรไทยน้อย































                 จำรึกวัดแดนเมือง 1 (จำรึกวัดปัจจันตบุรี) วัดปัจจันตบุรี ต ำบลวัดหลวง อ ำเภอโพนพิสัย จังหวัดหนองคำย
                               ภำพจำก  https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/2242


                       7.1 ประวัติและการใช้ตัวอักษรไทยน้อย
                       สมัย วรรณอดร (มปป. : 1-3)  กล่ำวว่ำ อกษรไทยนอย เปนอกษรสกุลไทย เพรำะมีรูปสัณฐำน
                                                                             ั
                                                           ั
                                  ุ
                                                                                                ั
               ตัวอักษรและอักขรวิธีเหมือนอักขรวิธีอักษรไทย แมจะมีอักขรวิธีอักษรธรรมเขำมำปะปนบำง เปนอกษรที่ใชอยู
               ในกลุมวัฒนธรรมไทย-ลำว ที่อำศัยอยูลุมแมน้ ำโขง กลำวคือทั้งอำณำจักรลำนชำง (สปป.ลำว) และภำคอสำน
                                                                                                      ี
               ของไทยบำงสวน โดยมีศูนยกลำง  วัฒนธรรมอยูที่เมืองหลวงพระบำงและเมืองเวียงจันทน โดยใชตัว
               อักษรไทยนอยเปนอักษรทำงรำชกำรที่จดบันทึกเรื่องรำวตำงๆ ที่เปนคดีโลก เชน หนังสือรำชกำร (ใบบอกหรือ
               ลำยจุม) กฎหมำย วรรณกรรมนิทำน เปนตน สวนคดีธรรม หรือเรื่องรำวเกี่ยวกับศำสนำ เชน พระธรรมคัมภีร
               ชำดก คำถำอำคม เปนตน จะใชอักษรธรรมในกำรบันทึก เพรำะถือวำเปนตัวอกษรที่ศักดิ์สิทธิ์   จำกกำรศึกษำ
                                                                               ั
               ด้ำนจำรึกประกอบกับหลักฐำนทำงด้ำนประวัติศำสตร์ของนักอกขรวิทยำ พบว่ำอกษร      ไทยน้อยได้พฒนำ
                                                                                   ั
                                                                   ั
                                                                                                      ั
               มำจำกอักษรไทยสมัยพระยำลิไท แห่งสุโขทัย (พ.ศ. 1890 - 1911) ดังจะเห็นได้จำกจำรึกลำยเขียนสีที่ผนังถ้ ำ

               นำงอัน เมืองหลวงพระบำง (ไม่บอกศักรำช) หรือศิลำจำรึกพระธำตุร้ำงบ้ำนแร่ อำเภอพงโคน จังหวัดสกลนคร
                                                                                       ั
                                                                       ั
               (พ.ศ.  1893)  ซึ่งเป็นจำรึกในระยะแรก ๆ มีรูปแบบตัวอกษรและอกขรวิธีเหมือนกับตัวอกษรของพระยำลิไท
                                                               ั
                                                                                         ั
                                                                                           ั
               ระยะหลังจำก พ.ศ. 2000 เป็นต้นมำพบว่ำ ศิลำจำรึกในภำคอสำนจ ำนวนมำกที่เขียนด้วยอกษร     ไทยน้อย
                                                                   ี
               ได้คลี่คลำยรูปแบบสัณฐำนไปจำกอกษรไทยสมัยพระยำลิไท แต่กลับไปมีรูปแบบสัณฐำนคล้ำยกับอกษร    ฝัก
                                                                                                 ั
                                             ั
               ขำมของอำณำจักรล้ำนนำมำกขึ้น ซึ่งอำจเป็นเพรำะว่ำ อำณำจักรล้ำนช้ำงมีควำมใกล้ชิดกับอำณำจักรล้ำนนำและ
               สืบทอดวัฒนธรรมมำจำกอำณำจักรล้ำนนำ โดยเฉพำะพระพทธศำสนำ เช่น สมัยพระเจ้ำวิชุลรำชที่ได้ฟนฟและ
                                                                                                      ู
                                                                                                   ื้
                                                                 ุ
                             ุ
               ท ำนุบ ำรุงพระพทธศำสนำเถรวำทจำกเชียงใหม่ ในสมัยพระเจ้ำโพธิสำลรำช พระโอรสของพระเจ้ำวิชุลรำชก็ได้
               อภิเษกสมรสกับเจ้ำหญิงเมืองเชียงใหม่ และได้ขอพระเถระจำกเชียงใหม่คือ พระเทพมงคลกับบริวำรพร้อมทั้ง
   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77