Page 100 - ปฏิบัติการ Lab Bilology II
P. 100
ี
ิ
ปฏบัติการชววิทยา 2 [Biology Laboratory 2] ภาควิชาชววิทยา คณะวิทยาศาสตร มมส.
ี
์
92
ผศ.ดร.สุคนธทิพย เศวตนลินทล และ อ.ดร.ศักดิ์บวร ตุมปสุวรรณ
ี
ี
ขบถาย ไนดาเรียมีสมมาตรแบบรัศม (radial symmetry) หรือสมมาตรซกซาย-ขวา (bilateral symmetry)
ั
ี
ี
ู
ู
ั
มรูปราง 2 แบบ ไดแก โพลิป (polyp) และ เมดซา (medusa) โพลิปมรูปรางคลายแจกน สวนเมดซามีรูปราง
คลายรมหรือระฆังคว่ํา ตัวอยางของสัตวในไฟลัมไนดาเรีย ไดแก ไฮดรา โอบีเลีย ตอทะเล แมงกะพรุน
ดอกไมทะเล ปะการัง กัลปงหา ปากกาทะเล
ไฟลมทโนฟอรา (Phylum Ctenophora)
ี
ั
ทโนฟอรา (Ctenophora, Gr.; kteis, ktenos = comb + phora = pl. of bearing) เปนกลุมของ
ี
สัตวที่มีชื่อทั่วไปวาหวีวุน (comb jelly) เนื่องจากรางกายมีซิเลียเรียงเปนแถวคลายหวี ซึ่งเปนลักษณะเดนของ
ี
ไฟลัม สวนมากตัวเปนทรงกลมหรือรูปไข ตัวใส มักเรืองแสงได มีสมมาตรแบบรัศมสองระนาบ (biradial
symmetry) ทีโนฟอรามีลักษณะคลายไนดาเรีย แตไมมีเขมพิษนีมาโตซิสท มีเซลลที่สรางสารเหนียวเพื่อใชใน
็
การจับเหยื่อคือเซลลคอลโลบลาสท (colloblast)
ไฟลัมแพลททีเฮลมินธีส (Phylum Platyhelminthes)
ี
ิ
แพลททเฮลมนธีส (Platyhelminthes, Gr.; platys = flat + helmins = worm) เปนไฟลัมของ
่
ี
หนอนตัวแบน (flat worms) ตัวแบนแบบบน-ลาง (dorsoventrally flattened) เปนสัตวกลุมแรกทม ี
ู
ี
ี
เนื้อเยือ 3 ชัน มสมมาตรแบบซกซาย-ขวา ไมมชองวางในลําตว (acoelom) ทางเดนอาหารไมสมบรณ ไมม ี
ี
ั
ิ
้
่
ี
ุ
ระบบหมนเวียนเลือด ใชโปรโตเนฟริเดย (protonephidia) เปนอวัยวะในการขับถาย ระบบประสาท
ั
ประกอบดวยปมประสาทสมอง (cerebral ganglia) เสนประสาทตามยาวตลอดตว (longitudinal nerve
cord) และเสนประสาทตาขาย (nerve net) หนอนตัวแบนสวนมากมีเพศรวม (hermaphrodite) มีการ
ี
ิ
ั
ดํารงชีวิตอิสระ แตสวนมากเปนปรสิตของสัตวชั้นสูง ตวอยางของสัตวในไฟลัมแพลททเฮลมนธีส ไดแก พลานาเรีย
พยาธิใบไม พยาธิตัวตืด
ไฟลมนีมาโทดา (Phylum Nematoda)
ั
ั
นีมาโทดา (Nematoda, Gr.; nematos = thread) เปนไฟลัมของหนอนตวกลม (round worms)
ั
ี
้
ลักษณะของสัตวในไฟลัมนีไดแก ลําตวกลมยาว เรียว หัวทายแหลม รางกายไมแบงเปนปลอง มสมมาตรแบบ
่
ซกซาย-ขวา มเนือเยือ 3 ชั้น มชองลําตวเทยม (pseudocoelom) ทาหนาทเปนโครงรางเหลว (hydrostatic
ี
่
ี
้
ั
ี
ี
ํ
ี
skeleton) ระบบทางเดินอาหารสมบูรณ ระบบประสาทประกอบดวย วงแหวนประสาทอยูทางสวนหัวและอยู
ี
ํ
่
ิ
รอบทางเดนอาหาร และเสนประสาทตามยาว การดารงชีวิตมท้งดํารงชีวิตอิสระและเปนปรสิต พวกทเปน
ี
ั
ปรสิตมักมีตอมผลิตเมือก และเซลลผิวชั้นนอกสามารถสรางคิวติเคิลออกมาหุมลําตัวเพ่อปองกันตัวจากการ
ื
ทําลายของโฮสต มีเพศแยก สวนมากเพศเมียมีขนาดใหญกวาเพศผู การสืบพนธุมีท้งแบบไมอาศัยเพศแบบ
ั
ั
ี
ั
พารธีโนเจนีซิส (parthenogenesis) และแบบอาศัยเพศที่มีการปฏิสนธิภายใน โดยตวผูมักมอวัยวะชวยในการ
่
ถายสเปรมอยูบริเวณทายตว สัตวในไฟลัมนี้พบไดท้งในทะเล น้ําจืด และในดน เกณฑทใชในการจัดจําแนก
ั
ี
ิ
ั
ึ
ื
นีมาโทดคอเฟสมิด (phasmid) ซงเปนอวัยวะรับความรูสีกเก่ยวกับสารเคมอยูบริเวณปลายหาง ตัวอยางของ
่
ี
ี
สัตวในไฟลัมนีมาโทดา ไดแก พยาธิไสเดือน พยาธิปากขอ พยาธิเข็มหมุด พยาธิแสมา