Page 27 - python
P. 27

บทที่ 1

                                               การเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน


                   แนวคิด
                                                      ั
                            ั
                                                            ํ
                          ทกษะการเขียนโปรแกรมเปนทกษะที่จาเปนในอนาคต ไมวาจะเปนผูเรียนสายไหน ทํางาน
                                                   
                     ี่
                   เกยวกบอะไร หรืออายุเทาไร ตอไปจะเริ่มเรียนรูและหัดเขียนโปรแกรมมากขึ้น สงผลใหตลาดแรงงาน
                         ั
                                       
                                         ั
                                                        ั
                   โปรแกรมเมอรมีการแขงขนสูงขึ้น ในปจจุบนภาษาไพธอนไดรับความนิยมอยางแพรหลาย ทั้งในงาน
                   วิทยาศาสตรขอมูล งานดานการประมวลผลภาพและการเรียนรูของเครื่องจักร นอกจากนั้นความกาวหนา
                               
                                                                                                    
                   ดานไมโครคอนโทรลเลอรรุนใหมอนุญาตใหนําภาษาไพธอนไปทํางานบนฮารดแวรเหลานั้นไดและนําไปสู
                   การพัฒนาดาน IoT (Internet Of Thing) ทําใหสามารถประยุกตใชงานไดอยางกวางขวาง
                                                   ี่
                                                       ั
                                                                            ี
                          ในบทนี้จะนําเสนอเนื้อหาเกยวกบ ความรูเบื้องตนการเขยนโปรแกรมภาษาไพธอน ประวัติ
                                                ื้
                                                                                               ี
                   ภาษาคอมพิวเตอร องคประกอบพนฐานของโปรแกรมภาษาไพธอน การเขียนคําสั่ง การเขยนหมายเหตุ
                                                                                             ู
                                                       ั
                   รูปแบบการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน อกขระที่ใชในภาษาไพธอน ขอมูลและชนิดขอมล ตัวแปร การ
                          
                               ั
                                                                                        ็
                                                                                                      ํ
                                                                                                     ่
                   กาหนดคาใหกบตัวแปร การแสดงผลลัพธภายในตัวแปร การตรวจสอบตัวแปรและออบเจ็คตาง ๆ ทีกาลัง
                    ํ
                   ใชงาน การตรวจสอบชนิดตัวแปร การแปลงชนิดตัวแปร การลบตัวแปรและการรับขอมูลจากคียบอรด

                   วัตถุประสงค
                          1. อธิบายความเปนมาของภาษาคอมพิวเตอรจากแผนภาพวิวัฒนาการภาษาโปรแกรมมิ่งได
                          2. อธิบายองคประกอบพื้นฐานของโปรแกรมภาษาไพธอนได
                          3. อธิบายการเขียนหมายเหตุและอักขระที่ใชในภาษาไพธอนได  
                          4. อธิบายชนิดขอมูล ตัวแปรและแสดงผลลัพธภายในตัวแปรได  
                          5. อธิบายการตรวจสอบชนิดตัวแปร ลบตัวแปร แปลงตัวแปรและรับคาจากผูใชเก็บลงตัวแปรได  

                   1.1 ประวัติภาษาคอมพิวเตอร
                                                                                            ั
                          ความเปนมาของภาษาคอมพวเตอรระดับสูงเริ่มจากคริสตทศวรรษ 1950 บริษท IBM ไดพฒนา
                                                  ิ
                                                                                                     ั
                   ภาษาฟอรแทรน และในป ค.ศ. 1958 สถาบันเทคโนโลยีแมสซาชูเซตสไดพัฒนาภาษา LISP และตอมาได
                   มีการพัฒนาภาษาคอมพิวเตอรออกมาเปนจํานวนมาก แสดงดังภาพประกอบที่ 1.1

                   1.2 การจัดระดับภาษาคอมพิวเตอร
                          ภาษาคอมพิวเตอรแบงระดับออกเปน 2 ระดับ คือ ภาษาระดับต่ํา (Low Level Language) และ

                   ภาษาระดับสูง (High Level Language)
                          1) ภาษาระดับต่ํามี 2 ภาษา คือ ภาษาเครื่อง (Machine Language) เขยนคําสั่งจากหนวย
                                                                                         ี
                   ประมวลผลกลางดวยรหสเลขฐานสอง และภาษาแอสเซมบลีซึ่งเปนการเปลี่ยนภาษาเครื่องที่อยูในรหัส
                                        ั
                                      ื่
                   ฐานสองมาเปนคําสั่งเพอใหเขียนโปรแกรมงายขนแตยังจําเปนตองเขาใจโครงสรางของหนวยประมวลผล
                                                           ึ้
                                                                     
                   กลางที่กําลังเขียนเปนอยางดี
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32