Page 63 - คู่มือการประเมินวัฎจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตร
P. 63
63
ตัวอย่างการค านวณ
ในการประชุมกลุ่มมีการสรุปความส าคัญส าหรับประเด็นย่อยทางสังคม ว่ามีความส าคัญมาก ดังนั้น
่
คะแนนความส าคัญ (ISi) = 1 และ คะแนนความส าคัญเฉลีย (Importance score avg) ค านวณได้ดังนี ้
1
Importance score avg = = 1
1
่
่
เมือ Importance score max คือค่าคะแนนความส าคัญทีมากทีสุด มีค่า = 3 ดังนั้น ค่าแฟกเตอร์
่
ส าหรับปรับค่า (adjustment factor) ค านวณได้ดังนี ้
Adjustment factor = = 0.33
1
3
โดยในการประชุมกลุ่ม มีการสรุปผลประเมินการรับรู้ประสิทธิภาพทางสังคมจริงส าหรับประเด็นย่อย
่
ทางสังคม ว่าอยูในระดับปานกลาง ดังนั้น คะแนนประสิทธิภาพทางสังคมจริง (PSact) = 2
็
เนืองจากเปนการประชุมกลุ่ม n = 1 ดังนั้น คะแนนประสิทธิภาพทางสังคมจริง (actual social
่
performance score) ส าหรับประเด็นย่อยทางสังคมค านวณได้ดังนี
้
2
PS = = 2
act
1
่
คะแนนประสิทธิภาพทางสังคมทีถูกปรับค่าแล้ว (adjusted social performance score) ส าหรับ
ประเด็นย่อยทางสังคมค านวณได้ดังนี ้
็
้
ั
PS = 2 × 0.33 = 0.66 โดยปดเศษขึนเปน 1
adj
่
สมมติว่าประเด็นทางสังคมหนึง ๆ มีประเด็นย่อยทางสังคม 3 ประเด็น โดยแตละประเด็นย่อยมี
่
คะแนนประสิทธิภาพทางสังคมจริง (actual social performance score) เท่ากับ 2, 2 และ 3 ดังนั้นสามารถ
ค านวณคะแนนประสิทธิภาพทางสังคมส าหรับประเด็นทางสังคม (social performance score) ได้ดังนี ้
63