Page 60 - คู่มือการประเมินวัฎจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตร
P. 60
60
่
มาตรฐานทางสังคมก ากับ ตัวชีวัดในทีนี หมายถึง การรับรู้เกียวกับสภาพสังคม ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอยูใน
้
่
้
่
ระดับต า ปานกลาง หรือดี ส าหรับแต่ละประเด็นย่อยทางสังคม ทั้งนี ผศึกษาสามารถอานคาอธบายของประเดนทางสังคม
ิ
่
็
้
่
้
ู
ประเดนยอยทางสงคม และตัวชีวัดส าหรับแตละประเด็นทางสังคม ในบทที 2
้
ั
่
่
่
็
้
ั
4.2 การถ่วงนาหนก
้
การถวงนาหนัก ในวิธีการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิตทางสังคม (S-LCIA method)
่
้
่
่
ทีนาเสนอในคูมือการประเมินวัฏจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตรเล่มนี ใช้แนวคิดเรื่อง adjustment
factor ทีนาเสนอในการศึกษาของ Sawaengsak et al. (2019) ในวิธีการถวงนาหนักนี
้
่
่
้
ต้องใช้ข้อมูลการให้ความส าคัญของแตละประเด็นย่อยทางสังคม จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตาง ๆ
่
่
โดยขอให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียให้คะแนนระดับความส าคัญส าหรับแตละประเด็นย่อยทางสังคม
่
่
พร้อมกับการให้คะแนนระดับการรับรู้เกียวกับสภาพทางสังคมในปจจุบัน ส าหรับประเด็นย่อยทางสังคม
ั
่
นั้น ๆ ระดับความส าคัญมีคะแนนดังตอไปนี ้
ส าคัญมาก = 1
ส าคัญปานกลาง = 2
ไม่ส าคัญ = 3
่
้
การถวงนาหนัก ในวิธีการ S-LCIA method ทีนาเสนอในคูมือเล่มนี มีจุดมุ่งหมายเพือให้ได้ผลลัพธ์
่
่
่
้
่
ที่สามารถช่วยชี้ให้ผู้ก าหนดนโยบาย และหนวยงานตาง ๆ ที่เกียวข้อง ทราบถึงประเด็นส าคัญทางสังคม
่
่
่
ทีต้องปรับปรุง หรือให้ความสนใจมากขึน โดยใช้ความส าคัญของแตละประเด็นย่อยทางสังคม
้
่
มาปรับค่าคะแนนประสิทธิภาพทางสังคม หากประเด็นย่อยทางสังคมใดมีความส าคัญสูง
จะมีคะแนนความส าคัญต า ดังนั้นคะแนนประสิทธิภาพทางสังคมจะถูกปรับค่าลดลงโดยใช้ adjustment
่
60