Page 59 - คู่มือการประเมินวัฎจักรชีวิตทางสังคมของผลิตภัณฑ์เกษตร
P. 59
59
ี
4 วิธการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชวิตทางสังคม
ี
และการแปลผล
่
วิธีการประเมินผลกระทบตลอดวัฏจักรชีวิตทางสังคม (S-LCIA method) ทีนาเสนอในคูมือนี ้
่
ประกอบด้วย ขั้นตอนการวิเคราะห์บัญชีรายการทางสังคม การให้นาหนักความส าคัญ และการแปลผล
้
การศึกษา แต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดอธิบายไว้ดังนี ้
ี
้
4.1 การวิเคราะห์ขอมูลบัญชรายการทางสังคม
่
่
็
้
ข้อมูลทางสังคม ทีแนะนาในคูมือเล่มนี เปนการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
่
ั
่
่
เกียวกับสภาพสังคมในปจจุบัน ส าหรับแตละประเด็นย่อยทางสังคม ตามแนวคิดทีใช้ในการศึกษาของ
์
็
่
Manik et al. (2013) โดยในการสัมภาษณ จะขอให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียประเมินการรับรู้เปน 3 ระดับ (ต า
้
ปานกลาง และดี) ระดับเหล่านีมีคะแนนดังนี ้
ต า = 1
่
ปานกลาง = 2
ดี = 3
ระดับการรับรู้เกียวกับสภาพสังคมในปจจุบันหรือประสิทธิภาพทางสังคม แปลความหมายได้ดังนี ้
่
ั
่
ระดับต า หมายถึง สภาพสังคมในปจจุบันอยูในระดับทีต ากว่ามาตรฐาน (หากมีมาตรฐาน ส าหรับตัวชี้วัด
่
ั
่
่
นน ๆ) ปานกลาง และด หมายถึงสภาพสังคมในปจจุบัน อยู่ในระดับทีผานมาตรฐาน (หากมีมาตรฐานส าหรับตัวชี้วัด
ั
้
ี
ั
่
่
นั้น ๆ) ดังนั้นหากประเด็นย่อยทางสังคมใดมีมาตรฐาน เช่น การห้ามใช้สารเคมีอันตราย ค่าแรงขั้นต า และ
่
้
่
็
แรงงานเด็ก เปนต้น ตัวชีวัดจะมี 2 ระดับคือ ระดับต า และระดับดี ส าหรับแตละประเด็นย่อยทางสังคมที่ไม่มี
่
59