Page 86 - ebook.msu.ac.th
P. 86

บรรณานุกรม




               กัญญา ลีลาลัย. (๒๕๔๕). ประวัติศาสตร์ชนชาติไท. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด
                      (มหาชน).

               งามพิศ สัตย์สงวน. (๒๕๔๒). การวิจัยทางมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
               จิตร ภูมิศักดิ์. (๒๕๑๙). ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย, ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ.
                      กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์เรือนแก้ว.

               เจีย แยนจอง. (๒๕๓๐). “ชนเผ่าตระกูลภาษาไทยในประเทศจีน” คนไทยอยู่ที่ไหนบ้าง?. กรุงเทพ: ศิลปวัฒนธรรม.
                      หน้า ๓๖-๔๑.

               ฉลาดชาย รมิตานนท์ และคณะ (บรรณาธิการ). (๒๕๔๑). ไท. เชียงใหม่ : โรงพิมพ์มิ่งเมือง.
               ฉวีวรรณ ประจวบเหมาะ.(๒๕๒๕). “กลุ่มชาติพันธุ์.” เอกสารของชุดวิชาสังคมศึกษา ๔. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย
                      สุโขทัยธรรมาธิราช.

               ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. (๒๕๔๐). ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมชุมชนและชนชาติไท. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
                      มหาวิทยาลัย.

               ชยันต์ วรรธนะภูติ. (๒๕๓๒). “พัฒนาการศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทย.” เอกสารการสอนหน่วยที่ ๒
                      สังคมและวัฒนธรรมไทย. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
               ธวัช ปุณโณทก และคณะ (บรรณาธิการ). (๒๕๔๙). มุมมองสังคมไทยแบบบูรณาการ. กรุงเทพฯ : เวิลด์เทรด

                      ประเทศไทย.
               นิเพทย์นิติสรรค์, หลวง. (แปล). (๒๕๑๘). ชนชาติไท. แปลจาก The Tai Race The Elder Brother of the

                      Chinese ของ William Clifton Dodd.
               บรรจบ พันธุเมธา. (๒๕๔๙). กาเลหม่านไต. กรุงเทพฯ : เรืองแสงการพิมพ์.
               บุญยงค์ เกศเทศ. (๒๕๔๖). สืบสานวัฒนธรรม ชาติพันธุ์ไท สายใยจิตวิญญาณ : ลุ่มน้ำดำ-แดง. กรุงเทพฯ :

                      หลักพิมพ์.
                     . (๒๕๔๘). อรุณรุ่งฟ้าฉานเล่าตำนานคนไท. กรุงเทพฯ : หลักพิมพ์.

               ปนัดดา บุณยสาระนัย. (ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี บรรณาธิการ) (๒๕๔๖). “ชนเผ่าอาข่า: ภาพลักษณ์ที่ถูกสร้างให้
                      สกปรก ล้าหลังแต่ดึงดูดใจ.” ใน อัตลักษณ์ ชาติพันธุ์ และความเป็นชายขอบ. กรุงเทพฯ   : ศูนย์
                      มานุษยวิทยาสิรินธร.

               ประคอง นิมมานเหมินท์ และเรืองวิทย์ ลิ่มปนาท (บรรณาธิการ). (๒๕๓๘). คนไทใต้คง : ไทใหญ่ในยูนนาน.
                      กรุงเทพฯ : สถาบันไทศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรม

                      แห่งชาติ
               ประชุมพงศาวดาร เล่ม ๑๕ ภาคที่ ๒๒-๒๕. (๒๕๐๗). กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา.
               ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี. (๒๕๓๙). ภูมิปัญญานิเวศวิทยาชนพื้นเมือง. กรุงเทพ : โครงการฟื้นฟูชีวิตและ

                      ธรรมชาติ.
               พิเชษ สายพันธ์. (๒๕๔๗). “การแปลงผ่านอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ ในภาคตะวันตกเฉียงเหนือของเวียดนาม” ใน

                      ความเป็นไทย/ความเป็นไท. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

                                                           84
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91