Page 87 - ebook.msu.ac.th
P. 87

ภัททิยา ยิมเรวัต. (๒๕๔๔). ประวัติศาสตร์สิบสองจุไท. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์สร้างสรรค์จำกัด
                มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (๒๕๓๓). เอกสารการสอนชุดวิชา ๑๑๑๑๑ สังคมและวัฒนธรรมไทย
                       หน่วยที่ ๑-๗. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

                ยศ สันตสมบัติ. (๒๕๕๑). หลักช้าง : การสร้างใหม่ของอัตลักษณ์ไทในใต้คง. กรุงเทพฯ : วิถีทรรศน์.
                      . (๒๕๕๑). อำนาจ พื้นที่ และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ : การเมืองวัฒนธรรมของรัฐชาติในสังคมไทย.

                       กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
                รณี  เลิศเลื่อมใส. (๒๕๓๙). ฟ้า-ขวัญ-เมือง จักรวาลทัศน์ดั้งเดิมของไท : ศึกษาจากคัมภีร์โบราณของไท
                       อาหม. กรุงเทพฯ : วิถีทรรศน์.

                วิไลวรรณ  ขนิษฐานันท์ และคณะ. (๒๕๔๕). รายงานการวิจัย คนไทในเวียดนาม : ภาษาและวัฒนธรรม.
                       กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

                ศรีศักร  วัลลิโภดม. “การนับถือผีในเมืองไทย”, เมืองโบราณ, ๕(๗) : ๕๔ ; กันยายน-ตุลาคม, ๒๕๒๒.
                ศรีสมพร สุขวง. (๒๕๕๑). การปรับตัวทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทแดง บ้านโพนทองเมืองนาทรายทอง
                       นะคอนหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต

                       มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น.
                สุทิน  สนองผัน. “ผีเสื้อ หรือ ผีเชื้อสาย” ศิลปวัฒนธรรม. ๑๒(๓) : ๑๓๔-๑๓๕. มกราคม. ๒๕๓๔.

                สุเทพ สุนทรเภสัช. (๒๕๓๕). สังคมวิทยาหมู่บ้านภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. พระนคร: สมาคมสังคมศาสตร์
                       แห่งประเทศไทย.
                สุเทพ  สุนทรเภสัช. (๒๕๔๘). ชาติพันธุ์สัมพันธ์. กรุงเทพฯ : เมืองโบราณ.

                สุภางค์ จันทวานิช. (บรรณาธิการ). (๒๕๔๙). รวมบทความทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ปี ๒๕๔๙
                       เนื่องในโอกาสเกษียณอายุราชการของ ศ.ดร.อมรา พงศาพิชญ์. กรุงเทพฯ : หจก.ศรีบรณ์คอมพิวเตอร์-

                       การพิมพ์.
                สุมิตร  ปิติพัฒน์และคณะ. (๒๕๔๖) คนไทแดงในแขวงหัวพันสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.
                       กรุงเทพฯ. สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

                สุมิตร  ปิติพัฒน์และฮ่วง เลือง. (๒๕๔๓ ). คนไทเมืองกว่า : ไทแถงและไทเมืองในประเทศเวียดนาม. กรุงเทพฯ:
                       สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

                สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. (๒๕๓๘). การศึกษาวัฒนธรรมชนชาติไท. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์
                       คุรุสภาลาดพร้าว.
                อภิญญา  เฟื่องฟูสกุล. (๒๕๔๖). อัตลักษณ์. กรุงเทพ:คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยาสำนักงาน

                       คณะกรรมการวิจับแห่งชาติ.
                อรรถ  นันทจักร. “วิธีคิดว่าด้วยจักรวาลวิทยาของกลุ่มคนไทในเวียดนาม” วารสารคณะมนุษยศาสตร์และ

                       สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๑ พฤษภาคม-ตุลาคม ๒๕๓๙.
                อานันท์  กาญจนพันธุ์. (๒๕๓๘). สถานะภาพการวิจัยพัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมไทใหญ่. กรุงเทพ :
                       สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

                Dau Tuan Nam. (พรเพ็ญ ฮั่นตระกูล, เก็บความ). “ระบบผีของกลุ่มคนไทยในเขตกวี่โจว จังหวัดเหงะอัน”
                       ศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๑ หน้า ๑๔๒-๑๕๗




                                                           85
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92