Page 131 - ebook.msu.ac.th
P. 131

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  131



                          อันนี้ก็เป็นอานิสงสผลาด้วยบุรสมพพาน (บุญสมภาร) เมื่อเป็นพระยา
                   ติโคตรบูรได้ฮับบาสสัพพัญญูเจ้าอันมีก าลังนั้นด้วยอานิสงสผลาอันได้อุ้มบาส
                   สัพพัญญูเจ้า ไปส่งนั้นแล
                          ในกาลถัดนั้นคนทั้งหลายฝูงต่างประเทดเห็นได้กินง่ายบ่ได้กท าไร่นา

                   ค้าขายดังนั้นเขาก็ลักหนี ๓/๑๕/๑ (จารซ้ า) ๓/๑๕/๒ (ตฺรา) (จารซ้ า) ๓/๑๖/๑ จาก
                                                                           ๕๕๙
                   บ้านแห่งเขาเข้ามาสู่สมมพานเทื่อน้อย ๆ ส้างขาวาสอย้าวเฮือน  อยู่กิน
                   ย่อนบุรสมพพานเอาเวียกบ้านกานเมืองดอมลวดเป็นเมืองใหย่กว่าท้าวพระยา

                   ทั้งหลายแล
                             ๕๖๐
                          ตา  ดูคนในเมืองแต่อยู่เป็นกานได้ ๒ ล้าน ๘ แสน ๘ หมื่น
                            ๕๖๑
                   ปาย ๙ คน
                          จีงแต่งอามาสผู้ ๑ ชื่อว่าหมื่นพิชชะโลกมีประริวานห้าหมื่น

                   ถึงระดูพิชชะข้าวกล้าลูกไม้เกิดมี  ให้หมื่นพิชชะโลกแลประริวานแปงปัน
                   แก่คนทั้งหลายอย่าให้เขาผิดเถียงกันหั้นแล
                          อโนชิด  ผู้ ๑ ชื่อว่าหมื่นกลางโฮง  เป็นเสนาใหย่แต่งแปงเมือง
                                                            ๕๖๒
                                 ผู้นึง ชื่อว่าหมื่นหลวงกลางเมือง
                                                           ๕๖๓
                                 ผู้ ๑ ชื่อว่าหมื่นประชุมนุมเมือง
                                                      ๕๖๔
                                 ผู้ ๑ ชื่อว่าหมื่นล่ามเมือง


                   ๕๕๙
                       อาวาสเหย้าเรือน หมายถึง ที่ดินและทรัพย์ติดที่ดินทั้งหมดรวมทั้งผู้คน  (เหย้า)
                   ๕๖๐
                       ตรา-ผู้ปริวรรต
                   ๕๖๑
                       ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  กล่าวว่า ๔,๗๘๙,๐๐๐  หน้า ๔๘., ฉบับของกรมส่งเสริม
                   วัฒนธรรม (๒๕๕๓)  กล่าวว่า  ๒,๗๘๙,๐๐๐  หน้า ๘๕.
                   ๕๖๒
                       ในวรรณกรรมพื้นบ้าน นิทานขุนบรม : โลกธาตุ (อัดส าเนา) โดย ดนุพล  ไชยสินธุ์ (๒๕๒๔).
                   ได้กล่าวถึง หมื่นหลวงกลาง ไว้ว่า  “...ขุนแสนให้ เป็นหมื่นหลวงกลาง  ฮักษาฝูง  แขกคนมาเฝ้า...”
                   หน้า ๑๙.
                   ๕๖๓
                       ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (๒๕๕๓)   เริ่มที่ต าแหน่ง ล่ามเมือง, หมื่นแก
                   ๕๖๔
                        ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  กล่าวว่า  รามเมือง  หน้า ๔๙., ฉบับของกรมส่งเสริม
                   วัฒนธรรม (๒๕๕๓)  กล่าวว่า  ล่ามเมือง  หน้า ๘๕.
   126   127   128   129   130   131   132   133   134   135   136