Page 29 - ebook.msu.ac.th
P. 29

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  29



                   แผนที่ลักษณะทางภูมิศาสตร์แม่น ้าภูเขาในลุ่มน ้าโขงเพื่อใช้เปรียบเทียบกับ
                   เนื อหาอุรังคธาตุ
                          ๐๖)  น้าเสนอตารางและแผนภูมิแสดงการวิเคราะห์เปรียบเทียบ
                   จ้านวนร้อยละของตัวอักษรและเนื อหาที่ปรากฏใน อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗

                   ซึ่งเป็นส่วนท้ายของภาคผนวก
                          ท้ายสุดผู้ปริวรรตและเรียบเรียง ขออุทิศคุณความดีที่มีนี

                   ต่อพระมหากรุณาธิคุณแห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า  ผู้ทรงประทาน
                   พระธรรม แก่มวลสรรพสัตว์ทั งหลายโดยการให้เปล่า  เหล่าบูรพาจารย์ครูบา

                   อาจารย์นิรนามผู้ประกอบสร้างต้านานอุรังคธาตุ เจ้าหัวศรีธรรมผู้จาร รวมถึงผู้

                   ที่เกี่ยวข้องในการรวบรวมเก็บก้าคัมภีร์ใบลานชุดนี คือพระอริยานุวัตร  (อารีย์
                   เขมจารี) ซึ่งทุกผู้ทุกนามล้วนเป็นส่วนท้านุบ้ารุงปกปักรักษามูนมรดกควำมทรง

                   จ ำอันล ้าค่าของบรรพชนฯ ไว้เรื่อยมา ที่ขาดเสียมิได้คือครูบาอาจารย์ผู้ถอด
                   แปลอุรังคธาตุทั งสองฉบับ ได้แก่ อุรังคธาตุ (ต้านานพระธาตุพนม) ฉบับของ

                   หอสมุดแห่งชาติ (จัดพิมพ์ พ.ศ. ๒๔๘๓) และ นิทานอุรังคธาตุ ฉบับหลวงพระ
                   บาง   ของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม (จัดพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๕๓)

                   ซึ่งข้าพเจ้าได้ใช้ประโยชน์โดยเปรียบเทียบกับต้นฉบับใบลานอุรังคธาตุชุดนี เพื่อ

                   ลดข้อผิดพลาด  หากหนังสือเล่มนี ขาดตกบกพร่องประการใด ข้าพเจ้าขอน้อม
                   รับทุกค้าวิจารณ์  เพื่อกอปรการแก้ไขในโอกาสที่เหมาะสมต่อไป



                                                                 ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์

                                                          กลุ่มงานอนุรักษ์เอกสารโบราณ
                                                    สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34