Page 24 - ebook.msu.ac.th
P. 24

24            ณรงค์ศักดิ์ ราวะรินทร์




                       ลักษณะที  ๒ เนื่องจากการปริวรรตเป็นแบบถ่ายถอดตามรูปค้าที่
               ปรากฏ ผู้เรียบเรียงจึงจ้าเป็นต้องเขียนอธิบายศัพท์ ในบางศัพท์ยังหา
               ความหมายไม่พบในสารานุกรมภาษา อีสาน-ไทย-อังกฤษ หรือเพื่อแสดงรูป
               ปัจจุบันของค้าศัพท์นั นไว้ นอกจากนี แล้วยังมีข้อสันนิษฐานอื่น ๆ ที่ผู้เรียบเรียง

               สนใจ เป็นประเด็นที ชวนขบคิดค้นหำ  โดยจะใช้ข้อความว่า “–ผู้ปริวรรต”
               ระบุไว้ในท้ายข้อความในเชิงอรรถนั น ๆ
                       ลักษณะที  ๓ บางค้าศัพท์จะมีการระบุเพิ่มเติมซึ่งเป็น รูปหรือ

               ความหมายปัจจุบันไว้ในวงเล็บ (...) หรือเพิ่มเติมบางศัพท์ที่สันนิษฐานว่าตก
               หล่นขาดหายในการจารใบลาน เพื่อความสะดวกในการอ่านและหาความหมาย
                       ลักษณะที  ๔ เนื่องจากผู้ปริวรรตใช้ข้อมูลจากเอกสาร จ้านวน ๒ ฉบับ
               เพื่อใช้สอบทานและเปรียบเทียบความถูกต้องด้านค้าศัพท์และเนื อหา อันได้แก่

               อุรังคธาตุ (ต้านานพระธาตุพนม) ฉบับของ หอสมุดแห่งชาติ (จัดพิมพ์
               พ.ศ. ๒๔๘๓) และนิทานอุรังคธาตุ ฉบับหลวงพระบาง ของ กรมส่งเสริม-
               วัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม (จัดพิมพ์ พ.ศ. ๒๕๕๓) จึงมีการเขียน
               เปรียบเทียบไว้ในเชิงอรรถ เพื่ออธิบายขยายความ และให้เห็นข้อแตกต่างของ

               เอกสารในแต่ละฉบับที่ระบุไว้ในบางข้อมูลที่ไม่ตรงกัน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29