Page 35 - ebook.msu.ac.th
P. 35

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  35



                   ๑. นิทานแม่น ้า

                           ๑/๑/๑  (อุรังคทาส ผูกต้นแล)
                                                                       ๓
                                  ๑
                                                           ๒
                          สิทธิกาน  จักกล่าวต านานแต่ปถัมมกับ  อันเจือมาใน  นิทานอุ-
                                                                    ๕
                                                      ๔
                   รังคธาส  จักออกมาให้แจ้งแก่คนทั งหลาย  แล   ยังมี นาค  สองตัวเป็นสหาย
                                                                              ๘
                                                             ๗
                                ๖
                   กันอยู่หนองแส   ตัว ๑ ชื่อว่าภินทโยนากวัตตินาค  อยู่หัวหนอง ตัวนึง  ชื่อ

                   ๑
                     สิทธิการิยะ หมายถึง ค าอธิษฐานขอความส าเร็จ ในต าราโบราณใช้เป็นค าขึ้นต้น
                   ๒
                     ปฐมกัป-ผู้ปริวรรต
                   ๓
                      ตามต้นฉบับใบลาน จะปรากฏ “ไ” สระไอไม้มลาย ทั้งฉบับ แต่ผู้ปริวรรตใช้  “ใ”  สระ ใอไม้
                   ม้วน ตามอักขรวิธีปัจจุบันเพื่อป้ องกันความสับสน ซึ่งในการประกอบค าบางค ายังรักษาอักขรวิธี
                   เดิมแต่เพิ่มเติมวรรณยุกต์ เช่น ใค่ (ใคร่), ใช้, ใด, ใด๋, ใต้, ใส่, ให้, ใหย่ (ใหญ่)  เป็นต้น

                   ๔
                     ในใบลานจาร  m}yk   ทฺลัา
                   ๕
                     ต้นฉบับเอกสารใบลาน เขียน “นัา” น.นา+ไม้ซัด (เป็นตัวสะกด ก.)  เพื่อป้ องกันความสับสนกับ
                   ค าว่า นาก อันหมายถึง โลหะผสมมี ทองค า เงิน ทองแดง ผสมกัน  ผู้ปริวรรตจึงเขียนเป็น “นาค”
                   ทั้งฉบับ
                   ๖
                     หนองแส  ยังปรากฏในนิทานเรื่อง ผาแดง-นางไอ่ ทั้งยังมีเนื้อหาตอนที่นาคสองสหายขัดแย้งกัน
                   หากแต่ เป็นสุวรรณนาค กับ สุทโธนาคซึ่งพระอริยานุวัตร.  (๒๕๑๗).  ได้ถอดแปลช าระไว้
                   ใน ศูนย์วรรณคดีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วัดมหาชัย มีเนื้อความที่น่าสนใจ ดังนี้ “ ...บัดนี้ ยังมี

                   นัคเรศห้องเมืองใหญ่หนองแส เป็นมหานทีหลวงโยชน์ยาวไกลล ้า เป็นอากาศกว้างน ้าใหญ่
                   พระคงคา พุ้นเยอ ยมุนานับบ่อาจสังขยาได้ ชื่อว่า “อาโปกว้างหนองกระแสแสนย่าน”  เป็นแม่น ้า
                   ทั้ง ๕ ผ่านนคร...ยังมีสุวรรณนาคเจ้าพญาใหญ่นาโค ทั้งพญาสุทโธเสี่ยวสหายแฝงฝั้น...พอเมื่อ
 ภาพที่ ๐๘ ภาพภาคพื้นทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และยูนนาน ใน  โยชิกิ มาซูฮารา. ประวัติศาสตร์  หลายปีล ้าเดือนดาวดับถ่าย ไปแล้ว สหายเสี่ยวสุทโธนาคได้ตัวช้างแจกกิน...สหายสุวรรณนาคได้

 เศรษฐกิจของราชอาณาจักรลาวล้านช้าง “จากรัฐการค้าภายในภาคพื้นทวีป”  ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่   ตัวเหม้นแจกปุน...”- จากนั้นก็เกิดการขัดแย้งกันซึ่งสอดคล้องกับการขัดแย้งที่ผูกเรื่องไว้ในต านาน

 ๑๖-๑๗ ไปสู่  “รัฐกึ่งเมืองท่า”.  (๒๕๔๕). นิตยสารศิลปวัฒนธรรม. ปีที่ ๒๔. ฉบับที่ ๑ พฤศจิกายน.   อุรังคธาตุ-ผู้เรียบเรียง
                   ๗
                     อุรังคธาตุ (ต านานพระธาตุพนม) ฉบับของหอสมุดแห่งชาติ (๒๔๘๓)  เขียนว่า “พินทโยนกวติ”
 หน้า ๑๒๐.         และนิทานอุรังคธาตุ ฉบับของกรมส่งเสริมวัฒนธรรม (๒๕๕๓)  เขียนว่า  “พินทโยนาควัตติ”
                   ๘  หนึ่ง-ผู้ปริวรรต
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40