Page 45 - ebook.msu.ac.th
P. 45

อุรังคธาตุ จ.ศ. ๑๑๖๗ (พ.ศ. ๒๓๔๘)  45



                          สุวัณณนาคเล่าคิดฮอดค าสัจจะแต่ก่อน  จีงออกมาเวียนด้วยริทธี
                   อธิฏฐานให้เป็นภูเป็นดอยอ้อมเมืองสุวัณณภูมมเป็นกงพานคานไว้หั้นแล
                   ภูอันบ่อนนั้นจีงได้ชื่อว่าภูพานหั้นแล  ค าอันว่าบ่ฮู้จักเก็ดน าตัวบ่ตายมากุมคอ
                                           ๘๖
                   ถากเก็ดสังดายค าอันนี้จีงเว้า  มาเท่ากาลบัดนี้แล แต่นั้นพระปรเมสวร พระ
                              ๘๗
                   นารอดจีงปง  พระพานเป็นใหย่ในที่นั้นหั้นแล
                          ยามนั้นบารดมาชู้เอานางอุสา  พระพานเล่าเคียด สุวัณณนาคมีค าชี
                   ตักวังจักติออกมาซ่อยพระพานแล ขึ้นเมือเกี้ยวบารดลงจากปราสาทนางอุสา
                                                      ๘๘
                   ให้พระพานขังไว้เหดพระปู่นารายจักสวาด  ๑/๕/๒ (คุ) ทิยายมนเป่าหอยสังข
                                                  ๙๐
                                       ๘๙
                   เรียกเอาพระยาครุด ขวี่  ไปเล็วยาด  เอาได้บารดแล้วมาซู่ (สู้?) เล็วพระ-
                   พาน
                                                                ๙๑
                          สุวัณณนาคจีงบอกให้พระพานไปตั้งพนเสิก  เพียงกะดานหินท้าย
                   เวียงเบื้องใต้นั้น  เล่าไปบอกบารดให้ว่าแก่พระกึดนาราย (กฤษณ์-นารายณ์)
                           ๙๒
                   ตั้งทับเสิก  เวียนน าแคมน้ าที่อยู่แห่งตน  แล้วให้พระกึดว่าดังนี้ พระนารายขึ้น
                                                ๙๓
                   เท็งภูกูเวียนยิงทนู (ธนู) อย่าได้ถก  ถอดเสิกอันตั้งนั้นหากมีไชยแลว่าดังนั้น
                                      ๙๔
                                                        ๙๕
                                                             ๙๖
                   สุวัณณนาคเล่าอยู่ซ่อย  พระพานด้วยบังลับ  ใก้  เมื่อจักเล็วกันนั้น

                   ๘๖
                      หมายถึง พูด
                   ๘๗
                      หมายถึง ให้
                   ๘๘
                      สวด-ผู้ปริวรรต
                   ๘๙
                      ขี่-ผู้ปริวรรต
                   ๙๐
                      หมายถึง แย่ง, ชิง
                   ๙๑
                      หมายถึง พลศึก
                   ๙๒
                      ทัพศึก-ผู้ปริวรรต
                   ๙๓
                      หมายถึง ก้าว, ยก
                   ๙๔
                      หมายถึง ช่วย
                   ๙๕
                      หมายถึง อ าพราง
                   ๙๖
                      ใกล้-ผู้ปริวรรต
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50