Page 19 - ebook.msu.ac.th
P. 19
9
บทที่ 3
ภาษาและตัวอักษร
“ภาษาก็เป็นเช่นเดียวกับระบบสัญญะอื่นๆ ที่ตัดแบ่งโลกและชีวิต
ออกเป็นส่วนๆ ควำมจริงของชิ้นส่วนย่อยๆ ถูกสร้ำงขึ้น พร้อมกับกำรมีชื่อเรียก
ค ำ หรือควำมจริงอื่นๆ ของระบบกำรแพทย์ เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่มีกำร
ตัดแบ่งและเรียกสิ่งต่ำงไม่เหมือนกัน จึงจ ำเป็นต้องรู้เท่ำทันกำรท ำงำนของภำษำ
และกระบวนกำรทำงวัฒนธรรมที่ก่อประกอบควำมเป็นจริงขึ้น ควำมพยำยำมที่
จะแปลศัพท์หรือชื่อเรียกทำงกำรแพทย์ระบบหนึ่งไปใช้กับระบบหนึ่ง จะสับสน
และไร้ควำมหมำยหำกไม่สำมำรถเข้ำใจได้ว่ำ ภำษำและวัฒนธรรมต่ำงกันได้สร้ำง
ควำมจริงขึ้นมำคนละชุด ดังนั้น การฟื้นฟูการแพทย์พื้นบ้านจึงเป็นกระบวนการ
ที่แยกไม่ออกจากการฟื้นฟูวัฒนธรรมพื้นบ้านและภาษาท้องถิ่น”
(โกมำตร จึงเสถียรทรัพย์. 2547 : 32)
“ภาษา” คือเครื่องมือที่มนุษย์ใช้สื่อความคิด ความรู้สึก ความต้องการให้ผู้อื่นรู้แจ้งและเข้าใจ
ส่วน “ตัวอักษร” หรือตัวเขียนนั้น คือ สัญลักษณ์ที่ใช้บันทึกภาษาพูดของมนุษย ์
ี
ั
ิ
ี
กลุ่มชนทุกกลุ่มชนล้วนมภาษาพูดทั้งนั้น แต่มใช่ทุกกลุ่มชนจะมตัวเขียนหรือตัวอกษรใช้บันทึก
1
ั
ภำษำพดของตน หรือบำงประเทศในอดีตเคยมีตัวอกษรที่ใช้ในประเทศหรือกลุ่มชำติพนธุ์ของตน แต่ด้วย
ู
ั
เหตุผลทำงสงครำมหรือกำรตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศอนหรือประเทศที่มีอำนำจเหนือกว่ำท ำให้ถูกบังคับ
ื่
หรือถูกอิทธิพลของประเทศนั้นครอบง ำ จึงจ ำเป็นต้องใช้ตัวอักษรชนิดอื่นแทน
มนุษย์เรำนั้นรู้จักกำรเขียนหนังสือมำนำนนับเป็นพนๆ ปี จำกที่เริ่มต้นด้วยกำรบันทึกไว้ในวัสดุที่มีอยู่ใน
ั
ั
ธรรมชำติรอบๆ ตัว เช่น ผนังถ้ ำ หิน ไม้ เป็นต้นแล้วจึงพฒนำรู้จักกำรน ำเอำวัตถุที่มีอยู่ในธรรมชำติ เช่น เปลือก
ไม้ ใบไม้บันทึกแล้วดัดแปลงเรื่อยๆ มำจนถึงสำมำรถท ำเป็นกระดำษ และเครื่องเขียนส ำหรับบันทึกภำษำของตน
ได้
์
ตัวอักษร คือ สัญลักษณหรือตัวเขียนที่ใช้บันทึกภำษำ ซึ่งจ ำแนกได้ 5 ระบบ ได้แก ่
1) ตัวเขียนระบบภาพ (pictograph) คือตัวเขียนที่ใช้ภำพในกำรสื่อสำร ซึ่ง เช่น อักษร
ภำษำเผ่ำน่ำซี (纳 西 族) ตัวเขียนรูปลิ่ม (cuneiform) ของชำวสุเมเรียน ตัวเขียนฮีโรกลิฟิก
2
(hieroglyphic) ของชำวอียิปต์ และตัวเขียนเจี่ยกู่เหวิน(甲骨文)ของชำวจีน เป็นต้น
2) ตัวเขียนระบบภาพแสดงความคิด (ideograph) คือตัวเขียนภำพที่สำมำรถสื่อ
ควำมหมำยสิ่งที่เป็นนำมธรรม ใช้เครื่องหมำยที่เป็นนำมธรรมแสดงควำมหมำย เกือบทั้งหมดเป็นตัวหนังสือ
เดี่ยว และบำงส่วนเกิดจำกกำรผสมผสำนระหว่ำงเครื่องหมำยที่เป็นนำมธรรมกับตัวอักษรภำพ ตัวหนังสือ
ประเภทนี้มีไม่มำก ส่วนใหญ่ใช้ในกำรแสดงควำมหมำยที่เป็นนำมธรรมหรือไม่มีตัวตน ถึงแม้ว่ำมีตัวตน แต่ก ็
ยำกที่จะใช้ภำพที่วำดจำกจินตนำกำรของจริงมำ แสดงควำมหมำยได้
3) ตัวเขียนระบบสัญลักษณ์รูปคล้าย (logograph) คือตัวเขียนที่ดัดแปลงจำกตัวเขียน
ระบบภำพมำเป็นสัญลักษณ์ ตัวหนังสือประเภทนี้เป็นตัวหนังสือที่เกำแกที่สุด ถึงแม้ว่ำมีจ ำนวนแค่ประมำณ 5
่
่
1 จุไรรัตน์ ลักษณะศิร. จากลายสือไทยสู่อักษรไทย. 2554. หน้ำ 1.
ิ
2 ประวัติและวิวัฒนำกำรของตัวอักษร. www.elfar.ssru.ac.th › kreetha_th › block_html › content