Page 20 - ebook.msu.ac.th
P. 20

10


               เปอร์เซ็นต์ของตัวหนังสือที่ใช้บ่อยในปัจจุบันนี้ แต่ถือว่ำส ำคัญที่สุด เพรำะเกือบทั้งหมดถูกน ำไปใช้เป็น
                                                                                               ้
               ส่วนประกอบของตัวหนังสือผสมที่ประดิษฐ์ขึ้นในภำยหลัง ตัวหนังสือประเภทนี้เป็นตัวหนังสือที่เขำใจง่ำยและ
               สนุกสนำน
                              เป็นอักษรเขียนที่ใช้แทนค ำหรือวลีหนึ่ง โดยระบบกำรเขียนที่ใช้อักษรภำพจะเรียกว่ำ ระบบ
               ตัวหนังสือค ำ (อังกฤษ: logographic system)  ตัวอย่ำงระบบกำรเขียนด้วยตัวหนังสือค ำ ได้แก อักษรจีน
                                                                                              ่
                                               3
               อักษรรูปลิ่ม อักษรไฮเออโรกลีฟอียิปต์

                              4) ตัวเขียนระบบสัญลักษณ์แทนพยางค์ (syllabary)  คือตัวเขียนระบบที่กำหนดให้
               สัญลักษณ์แต่ละสัญลักษณ์แทนเสียงพยำงค์หนึ่งพยำงค์ กำรเขียนตัวหนังสือแบบนี้เป็นกำรใช้ตัวหนังสือหลำย
               ตัวผสมกัน เช่นตัวหนังสือญี่ปุ่นเช่นแบบ ฮิระงะนะ, คะตะกะนะ และคันจิ ซึ่งเป็นภำษำรูปภำพ ตัวหนังสือ
               แบบ ฮิระงะนะ ส่วนมำกใช้กับค ำที่ยืมมำและค ำเรียกชื่อเฉพำะที่เป็นต่ำงชำติ ตัวหนังสือ คันจิ ดัดแปลงมำจำก

               ตัวหนังสือจีน มักจะใช้เป็นรำกศัพท์ เมื่อเอำตัวหนังสือแบบต่ำงๆมำผสมกับตัวหนังสือ คันจิ จะช่วยให้แยกรำก
               ศัพท์ออกได้ง่ำยขึ้น ส่วนประกอบของพยำงค์ในภำษำญี่ปุ่นมักจะมีรูปคงที่
                              5) ตัวเขียนระบบแทนเสียงและตัวอักษร (alphabet)  คือตัวเขียนระบบที่ใช้สัญลักษณ์แต่
               ละตัวแทนเสียงหนึ่งเสียง ใช้ตัวอักษรแทนเสียง และสื่อควำมหมำยจำกกำรผสมตัวอักษรที่มีรูปเป็นพยัญชนะ

               และเสียงที่เป็นสระ เป็นค ำพดหรือตัวเขียน ตัวอกษรจึงมีควำมสัมพันธ์กับหน่วยเสียงที่เล็กที่สุด และสื่อ
                                       ู
                                                       ั
               ควำมหมำยต่ำงๆได้ ค ำพูดจะสื่อควำมหมำยได้จำกกำรผสมพยัญชนะและสระ พยัญชนะมีรูปต่ำงๆกัน
               เนื่องจำกฐำนที่เกิดต่ำงกัน แต่ไม่ให้ควำมหมำยได้ ต้องอำศัยสระซึ่งเป็นเสียงที่เกิดจำกลิ้นมำประกอบเป็น

                                                                         ั
               ค ำพูดจึงจะสื่อควำมหมำยได้สมบูรณ์  อักษรกลุ่ม alphabet ยังเป็น อกษรสระประกอบ (Syllabic
               alphabets, alpha syllabaries or abugidas) ได้แก่ อักษรกวิ (Kawi) อักษรขอม (Khom) อักษรขอมไทย
                              ั
               อักษรขอมบำลี อกษรเขมร (Khmer) อักษรจำม (Cham) อกษรชวำ (Javanese) อักษรทมิฬ (Tamil) อักษร
                                                                ั
               ทิเบต (Tibetan) อกษรเทวนำครี (Devanagari) อักษรไทด ำ (Tai Dam) อักษรไทใต้คง (Dehong Dai)
                               ั
                                                   ั
               อักษรไทย (Thai) อักษรไทลื้อ (Tai Lue) อกษรไทใหญ่ (Shan) อักษรไทอำหม (Ahom) . อักษรธรรมลำว/
               ธรรมอีสำน อักษรพม่ำ (Burmese) อักษรพรำหมี (Brahmi)  อักษรม้ง (Hmong) อักษรมอญ (Mon) อักษร
               มำลำยำลัม (Malayalam) อกษรล้ำนนำ (Lanna) อักษรลำว (Lao) อักษรสิงหล (Sinhala)
                                       ั


                       วิวัฒนำกำรอักษรโบรำณ กำรที่กลุ่มชำติพันธุ์ต่ำงๆ นั้นมีภำษำและตัวอักษรที่ใช้ส ำหรับกำรบันทึก
               ภำษำของตนนั้นสะท้อนให้เห็นถึงควำมเป็นกลุ่มชำติพันธุ์ที่มีอำรยธรรม มีควำมเจริญรุ่งเรืองทั้งด้ำนสังคมและ
               วัฒนธรรมที่ได้ถูกสืบทอดมำจำกรุ่นสู่รุ่นและมีวิวัฒนำกำรมำจนถึงปัจจุบัน

















               3  อ้ำงอิงจำก
               https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%95%E0%B8%B1%E0%B8%A7%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%
               AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%84%E0%B8%B3
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25