Page 14 - ebook.msu.ac.th
P. 14

5


                              2. จำรึกบ้ำนหนองอุ่ม อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหำสำรคำม อักษรไทยน้อย พ.ศ. 2411-

                              2468

                              3. จำรึกวัดมหำผล อ ำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหำสำรคำม อักษรธรรมอีสำน พ.ศ. 2043
                                                                              ั
                              4. จำรึกศำลำนำงขำว อ ำเภอนำดูน จังหวัดมหำสำรคำม อกษรขอม พุทธศตวรรษที่ 17

                                          ุ
                              5. จำรึกพระพทธรูปยืนวัดสุวรรณำวำส อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหำสำรคำม อกษรไทย
                                                                                                  ั
                              น้อย


































                      ภำพจำรึกต ำรำยำวัดรำชโอรสำรำมรำชวรวิหำร แผ่นที่ 11 (ยำแก้โรคลมบำดทะยัก) ข้อมูลจำก

                                https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/14786

                       2.2 คัมภีร์ใบลาน คือ เอกสำรที่น ำใบของต้นลำนที่ผ่ำนกรรมวิธีกำรเตรียมใบลำนหลำยขั้นตอนแล้ว

               มำเป็นวัสดุรองรับกำรบันทึกเรื่องรำวต่ำงๆ โดยกำรใช้เหล็กแหลมที่เรียกว่ำ “เหล็กจำร” เขียนหรือจำรลงบน
               ใบลำนทั้ง 2 ด้ำนๆ ละ 4-5 บรรทัดแล้วใช้เขม่ำไฟผสมน้ ำมันยำงลบ (ลูบหรือทำ) แล้วขัดเช็ดถูให้สะอำด แล้ว
               จะเห็นตัวอักษรเด่นชัดขึ้น เสร็จสิ้นกรรมวิธีแล้วใช้เชือกที่เรียกว่ำ “สำยสนอง” ร้อยผูกใบลำนเข้ำด้วยกันเป็น
               1 ผูก อำจมำกบ้ำง น้อยบ้ำง หลำยๆ ผูกรวมเป็นคัมภีร์หนึ่ง แต่ละคัมภีร์มักจะมีแผ่นไม้ขนำดเท่ำใบลำน
               ประกบบนล่ำงไว้เรียกว่ำ “ไม้ประกับ” เพอรักษำรูปทรงของใบลำนไมให้บิดงอแล้วมัดรวมกันแล้วจึงห่อด้วยผ้ำ
                                                  ื่
                                                                        ่
               อีกชั้นหนึ่งเรียกว่ำ “ผ้ำห่อคัมภีร์” นอกจำกนั้นจะเสียบฉลำกหรือป้ำยบอกชื่อคัมภีร์ไว้ด้ำนนอกผ้ำห่อคัมภีร์
               ภำคอีสำนเรียกว่ำ “ปี้” หรือ “ฎีกำ หรือ ตีกำ”
   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19