Page 23 - ebook.msu.ac.th
P. 23

13




                                  ี
                        ั
                       อกษรพราหม  อกษรพรำหมี (อำนว่ำ พรำม-มี) เป็นต้นก ำเนิดของอกษรในอนเดียมำกมำย รวมทั้ง
                                     ั
                                                                                       ิ
                                                                                ั
                                                  ่
                                                  ิ
                              ั
                 ั
               อกษรเขมรและอกษรทิเบตด้วย พบในอนเดียเมื่อรำว พ.ศ. 43 มีควำมคล้ำยคลึงกับอกษรอรำเมอกหรือ
                                                                                                    ิ
                                                                                         ั
               อกษรฟนิเชีย อกทฤษฎีหนึ่งเชื่อว่ำมำจำกอกษรสินธุหรือฮำรัปปำ ที่ใช้ตั้งแต่ 1,457 ปีก่อนพทธศักรำช อกษร
                 ั
                            ี
                      ิ
                                                                                            ุ
                                                                                                      ั
                                                   ั
               พรำหมีพบครั้งแรก ในจำรึกของพระเจ้ำอโศกมหำรำชแห่งรำชวงศ์เมำรยะ ในช่วง พ.ศ. 273 – 311 ดังภำพ
               ตัวอย่ำง










               อักษรพรำหมี อ้ำงอิงจำก :                     อักษรพรำหมี อ้ำงอิงจำก : http://ancientscripts.com/brahmi.html
               https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%B1%E0%B8%81%E
               0%B8%A9%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B
               8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B5#/media/File:Asokan_brahmi_pillar_edi
               ct.jpg

                                                                      ั
                       ตระกูลอักษรพราหม เป็นกลุ่มของอักษรที่พัฒนำมำจำกอกษรพรำหมี ได้แก่อักษรที่ใช้ในอินเดียและ
                                        ี
               เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้แก่ อักษรเทวนาครี อักษรคุรมขี อักษรเบงกาลี อักษรคุชราต อักษรโอริยา อักษร
                                                               ุ
               ทมิฬ อักษรมาลายาลัม อักษรเตลุกุ อักษรกันนาดาและอกษรสิงหล (ในศรีลังกำ) อักษรในเอเชียตะวันออก
                                                               ั
               เฉียงใต้ที่จัดอยู่ในตระกูลนี้คือ อักษรพม่า อักษรมอญ อักษรไทย อกษรลาว อักษรเขมร อักษรจาม อักษรไท
                                                                       ั
               ลื้อ อกษรล้านนา อักษรขอมไทย อักษรขอมบาลี อักษรชวา อักษรบาหลี โดยผ่ำนทำงอักษรปัลลวะใน
                    ั
               อินเดียใต้ และอกษรกวิในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โบรำณ ลักษณะที่ต่ำงจำกอักษรในอินเดีย คือมพยัญชนะที่
                                                                                               ี
                             ั
               ใช้แทนเสียงเดียวกันเพรำะภำษำเหล่ำนี้มีเสียงพยัญชนะน้อยกว่ำ (เช่น อักษรไทย) มีพยัญชนะ 2 ชุดที่ออก
               เสียงต่ำงกันเมื่อประสมสระ (เช่น อักษรเขมร อักษรมอญ) หรือลดจ ำนวนพยัญชนะ (เช่น อักษรลาว) อักษร
               กลุ่มนี้เขียนในแนวนอนจำกซ้ำยไปขวำ
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28