Page 68 - ebook.msu.ac.th
P. 68

55



                              สระจม มี 8 รูป แบ่งเป็นสระเสียงสั้น 3 เสียงยำว 5  เหมือนกันกับสระลอย ดังนี้

                                          b
                  Xt*        xk          x          x  u      x  6       X^        เx         ex

                   อะ        อา          อิ         อี        อุ         อู         เอ         โอ

                                                                                                 ุ
                              1) * สระ อะ ในภำษำบำลีไม่มีรูป (วิสรรชนีย์) เหมือนในภำษำไทย แต่พยัญชนะทกตัวออก
                       เสียงอะ  เช่น    lbรlk  (สิระสำ)       48;K   (ภะคะวำ)



                              2) gxk โอ ใช้ส ำหรับเขียนค ำภำษำบำลีที่ประกอบด้วยสระโอท้ำยค ำหรือท้ำยพยำงค์ และ


               ค ำที่มีพยำงค์เดียว   เช่น  l,XghO (สมฺปนฺโน)     og,k  (นโม)




                          กำรสะกดค ำในภำษำบำลีเรียกว่ำ “กำรสังโยค” นั้น ประกอบด้วยพยัญชนะที่ท ำหน้ำที่เป็น
               ตัวสะกดซึ่งเรียกว่ำ  “พยัญชนะสังโยค” จะอยู่ในต ำแหน่งที่สองต่อจำกพยัญชนะต้นค ำหรือต้นพยำงค์   เป็น
                                                  ื้
               รูปพยัญชนะตัวเต็ม และมีพยัญชนะตัวเฟองซ้อนอยู่ใต้พยัญชนะตัวเต็มนั้นท ำหน้ำที่เป็นพยัญชนะตัวตำมและ
               เป็นต้นของพยำงค์ต่อไป
                          กำรสังโยคพยัญชนะวรรคในภำษำบำลีนั้น จะสังโยคกันได้เฉพำะในวรรคของตนเท่ำนั้น จะสังโยค

               ข้ำมวรรคไม่ได้ ซึ่งมีหลักเกณฑ์ในกำรสังโยคดังต่อไปนี้
                          1. พยัญชนะตัวที่ 1ซ้อนหน้ำ ตัวที่ 1 และที่ 2 ในวรรคของตนได้
                          2. พยัญชนะตัวที่ 3 ซ้อนหน้ำ ตัวที่ 3 และที่ 4 ในวรรคของตนได้

                          3. พยัญชนะตัวที่ 5 ซ้อนหน้ำตัวเองและพยัญชนะในวรรคของตนเองได้ทุกตัว (ยกเว้น ตัว ง ซ้อน
               หน้ำตัวเองไม่ได้)
                       เช่นค ำว่ำ


               lbdขา       (สิกฺขำ)


                              l       (ส) ท ำหน้ำที่เป็นพยัญชนะต้นค ำ


                                 b
                                       (อิ) เป็นสระประกอบกับพยัญชนะต้นของพยำงค์แรก



                              d   (ก) ท ำหน้ำที่เป็นตัวสะกดของพยำงค์แรก หรือพยัญชนะสังโยค

                                 ข
                                        (เฟอง ข) ท ำหน้ำที่เป็นพยัญชนะตัวตำมและเป็นต้นของพยำงค์ต่อไป
                                       ื้

                               า    (อำ) เป็นสระประกอบกับพยัญชนะตัวเฟื้อง ข
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73