Page 143 - Lab Bilology I 63
P. 143

ี
                                                                   ์
                   ปฏบัติการชววิทยา 1 [Biology Laboratory I] ภาควิชาชววิทยา คณะวิทยาศาสตร มมส.
                          ี
                     ิ
          130      ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล โกมณเฑียร, ดร.ญาณวุฒิ อุทรักษ์
              114 | ป ฏิบั ติกา ร ชีว วิท ย า 1
              วตถประสงค
                  ุ
                ั

                                            ิ
                                                           ้
                     1. นิสิตเขาใจและสามารถอธบายองคประกอบพืนฐานของระบบนิเวศแบบตางๆได  
                                                                                
                                                   
                     2. นิสิตสามารถใชเครื่องมือ อุปกรณทางวิทยาศาสตร ในการตรวจวัดขอมูลปจจัยทาง
                         กายภาพบางประการของระบบนิเวศได  
                     3. นิสิตสามารถอธิบายความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดลอมที่ไมมีชวิตได  
                                                                                ี
                                                                ั
                                                         ่
                                                                  ่
                     4. นิสิตสามารถอธบายความสัมพันธระหวางสิงมีชีวิตกบสิงมีชีวิตดวยกนเองได
                                     ิ
                                                                            ั
                     5. นิสิตรูจักวิธีการเก็บรวมรวม ขอมูลพืนฐานทังทางกายภาพและชวภาพ ในการศกษาทาง
                                                                         ี
                                                                                     ึ
                                                          ้
                                                    ้
                         นิเวศวทยาได
                              ิ

                       ุ
              วสดและอปกรณ
                  ุ
                ั
                     1. ตลับเมตรความยาว 50 เมตร
                     2. สายวัดความยาว 1.5 เมตร
                     3. พลั่วขุดดิน
                           
                     4. แวนขยาย
                     5. ปากคีบ
                     6. เชอก
                          ื
                     7. ถุงพลาสติกเก็บตัวอยาง
                            ั
                     8. ยางรด
                     9. ขวดพลาสติกความจุ 1 ลิตร
                     10. pH paper
                     11. Secchi disc
                     12. Thermometer

                     13. Hygrometer
                     14. กลองจุลทัศน  
                     15. กลองสเตริโอ

              วิธีปฏิบัติการ

                                                                     ่
                                                                              
                                             ิ
                                                                        
                     ปฏิบัติการระบบนิเวศแบงปฏบัติการออกเปน 2 กิจกรรมเพือใหนิสิตไดศึกษาระบบนิเวศ
                                                  ื
              2 แบบ คือระบบนิเวศบนบก โดยใชสวนหรอลานในบรเวณมหาวทยาลัยมหาสารคามเปนสถานที      ่
                                                                   ิ
                                            
                                                                                     
                                                           ิ
                                      ํ
              ศึกษา และระบบนิเวศแหลงน้า ใชแหลงน้ําในพืนที่มหาวทยาลัยมหาสารคามเปนสถานที่ศึกษา
                                                          ิ
                                                   ้

                                               ิ
                     กิจกรรมที่1 ระบบนิเวศในมหาวทยาลัยมหาสารคาม
                            ใหนิสิตกําหนดขอบเขตพื้นที่ระบบนิเวศที่นิสิตสนใจศึกษาแลวเริ่ม สํารวจ ตรวจวัด
                                                                                 ้
                                                                                 ั
                                                                                       ั
                                                                    ั
                                   ุ
                                     
              และบันทึกขอมูลโดยแบงชดขอมูลออกตามปจจยทางชวภาพ และปจจยทางกายภาพมีขนตอนดงนี  ้
                        
                                                   ั
                                                        ี


                  ิ
              ภาควชาชววทยา คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลัยมหาสารคาม
                                           ิ
                                      ์
                              ิ
                     ี
                       ิ
   138   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148