Page 145 - Lab Bilology I 63
P. 145
ปฏบัติการชววิทยา 1 [Biology Laboratory I] ภาควิชาชววิทยา คณะวิทยาศาสตร มมส.
์
ี
ี
ิ
132 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภูวดล โกมณเฑียร, ดร.ญาณวุฒิ อุทรักษ์
116 | ป ฏิบั ติกา ร ชีว วิท ย า 1
ิ
1.3 .ใหนิสิตจําแนกกลุมตามหนาที่เชิงอาหารของสิ่งมีชีวตในระบบนเวศแลวนํา
ิ
ขอมูลที่ไดมาเขียนเปนแผนภมิสายไยอาหารในระบบนิเวศนัน
้
ู
1. การศึกษาปจจัยทางกายภาพ
1.1 ใหนสิตวาดรูปรางของระบบนิเวศแหลงนําที่นสิตศกษา พรอมทั้ง
้
ิ
ึ
ิ
ประเมินขนาดและพื้นที่ของแหลงน้ํา
1.2 ใหนิสิตใชเทอรโมมิเตอรวัดอุณหภมิระดับสายตา ระดับผิวนา
ํ
ู
้
ํ
และใดผิวน้าประมาณ 30 เซนตเมตร บันทึกผล
ิ
1.3 ประมาณคาการสองผานของแสงที่สองถงผิวนาโดยตรง และ
้
ึ
ํ
จํานวนชั่วโมงที่ระบบนิเวศแหลงน้ําไดรับแสงตอวัน บันทึกผลในตารางบันทึกผล
้
1.4 วดระยะการสองผานของแสงลงไปในนํา (transparency) ดวย
ั
่
็
่
้
Secchi disc (ภาพที 9.3) โดยคอยๆหยอนลงไปในนําจนถึงจึดทีเริ่มมองไมเหนความแตกตาง
ื
่
้
ั
ี
้
ระหวางสีขาวและสีดาทีอยบนจาน ทําเครองหมายบอกระยะไว ระยะนแทนดวยระยะ a จากนน
่
ู
ํ
ปลอยจานใหลึกลงไปอีกแลวเริ่มดึงจานกลับขึ้นมาจนถึงระยะที่เริ่มแยกความแตกตางของสีขาวและสี
ดําที่อยบนจานใหทําเครื่องหมายระยะน้ไว ระยะนแทนดวยระยะ b (ภาพที 9.3) แลวดึงจานข้นมา
ึ
ี
้
ู
ี
่
่
้
จากนา แลววัดระยะ a และ b บันทึกขอมูล การคํานวณคาการสองผานของแสงทีทะละผานผิวนํา
้
ํ
หรือคาความใสของน้ํา คํานวณไดจากการหาคาเฉลี่ยของระยะ a และระยะ b ดังสมการขางลาง
+
คาความใสของน้ํา =
2
ภาพที 9.3 Secchi disc และวิธีการวัดคาความใสของน้ําดวย Secchi dise
่
(ที่มา: http://en.wikipedia.org/wiki/Secchi_disk)
1.5 ใชไมหรือวัสดุที่เปนทอนยาว หรือเชือกในการวัดระยะความลึก
ของแหลงน้ําบันทึกผล
ั
1.6 แบงตวอยางน้าทีเกบมา 10 ml เพื่อนํามาตรวจวัดคา pH ของน้า
ํ
่
ํ
็
ดวย pH paper บันทึกผล
หมายเหต ุ
1. ใหนิสิตลางทําความสะอาดอปกรณ และเช็ดใหแหงหลังทําปฏิบัติการ
ุ
2. ใหนิสิตเศษดินที่เหลือทิ้งลงในถุงพลาสติกสีดําที่เตรียมไวใหเทานั้น หาม
ทิ้งลงในอางลางอุปกรณเด็ดขาด
ิ
ิ
์
ิ
ิ
ภาควชาชววทยา คณะวทยาศาสตร มหาวทยาลัยมหาสารคาม
ี