Page 144 - Lab Bilology I 63
P. 144

ี�
                                                                                         ิ
                                                                          บทปฏบัติการท 9  ระบบนเวศ
                                                                              ิ
                                                                                  Ecosystem      131
                                                                       ป ฏิบั ติกา ร ชีว วิท ย า 1 | 115
                                  1. การศึกษาปจจัยทางชีวภาพ

                                     1.1 เมื่อนิสิตกําหนดขอบเขตระบบนิเวศที่นิสิตสนใจไดแลวใหนิสิตวาด
                    ภาพขอบเขต หรือบันทึกภาพสถานที่ศึกษาจากนั้นใหนิสิตสํารวจ และจําแนกชนิด (ถานิสิตไมรูจัก
                                         
                    หรือไมสามารถระบุชนิดไดใหปรึกษาที่อาจารยผูสอนหรือพี่เลี้ยง) ตําแหนง และจํานวนของสิ่งมีชีวิตที่
                                   ้
                    พบในระบบนิเวศนัน บันทึกลงในแบบบันทึกขอมูล
                                                       
                                     1.2 หลังจากนิสิตทราบชนิดของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศทั้งหมดแลว ใหนิสิต
                    จําแนกกลุมของสิ่งมีชีวิตเหลานั้นตามบทบาทหนาที่เชิงอาหาร (trophic niche)
                                     1.3  นําขอมูลการจัดกลุมที่ไดมาสรางเปนสายใยอาหาร(food web) ของระบบ
                    นิเวศนั้น
                                  2. การศึกษาปจจัยทางกายภาพ
                                     2.1 ใหนิสิตวาดรูปราง หรือบันทึกภาพสถานที่ศึกษา และประมาณขนาด
                    พื้นที่ของระบบนิเวศที่สนใจ
                                                                         ั
                                                              ุ
                                     2.2 ใหนิสิตวัดและบันทึกขอมูลอณหภูมิในระดบตาที่วัดดวยเทอรโมมิเตอร
                    และวัดความชื้นสัมพัทธของอากาศ ที่วัดดวยไฮโกรมิเตอร จํานวน 5 จุด กระจายทั่วระบบนิเวศแลว
                                                    
                    หาคาเฉลียในระบบนิเวศนัน
                        
                           ่
                                        ้
                                                             ่
                                     2.3 นิสิตประมาณปริมาณแสงทีสองผานลงมาในระบบนิเวศคดเปนประมาณ ก ่ ี
                                                                                    ิ
                    เปอรเซนต ของพื้นที่ศึกษา ประมาณกี่ชั่วโมงตอวัน บันทึกผล
                                                    ั
                                                           ิ
                                                                           ํ
                                     2.4 ใหนิสิตสุมเก็บตวอยางดนโดยใชพลั่วขุดดิน จานวน 5 จุด ในระบบนิเวศที ่
                    นิสิตศึกษา ในปริมาณเทาๆกัน ใสรวมกันในถุงเก็บตัวอยางเดียวกันแลวผสมใหเขากัน นําตัวอยางทีได
                                                                                               ่
                                                     ั
                                                                           ิ
                    ไปวิเคราะหตอในหองปฏิบัติการเพื่อตรวจวดคา pH  โดยแบงตวอยางดนไปละลายในน้ํากลันใน
                                                                    ั
                                                                                          ่
                                      
                                        ํ
                                                                        ั
                                                                     ้
                    อัตราสวน ดน 1 สวนตอน้า 2 สวน ทิ้งไวประมาณ 5 นาที จากนันวดคา pH ดวย pH paper เทียบสี
                              ิ
                                              
                                                                ั
                                ั
                    ของกระดาษ กบแถบสีมาตรฐานขางกลอง  pH paper บนทึกผลการตรวจวัด
                                                                         ิ
                                     2.5 ตัวอยางดินที่เหลือใหนิสิตสังเกตสีของเนื้อดน วาเปนสีเทา ดํา น้ําตาล หรือ
                    แดง มีเศษซากอินทรียหรือไม มากหรือนอย ดินที่มีสีเขมมักมีอินทรียสารอยูในดินมากกวาดินที่มีสีจาง
                                     2.6 ใหนิสิตใชนิ้วมือบีบแลวขยี้ดิน สังเกตลักษณะของเนื้อดินวามีความหยาบ
                                 ื
                      ื
                                                                          ั
                    หรอละเอียด หรอมีความเหนียวมากหรือนอย มีความรวนซุยหรือไม บนทึกผล

                                                     ํ
                    กิจกรรมที่2 การศึกษาระบบนิเวศแหลงน้า
                           การศึกษาระบบนิเวศแหลงน้ําใหนิสิตเลือกแหลงน้ําที่นิสิตสนใจศึกษาในพื้นที่มหาวิทยาลัย
                                                                                            
                    มหาสารคาม เมื่อนิสิตเลือกพื้นที่ศึกษาไดแลวใหนิสิต สํารวจ ตรวจวัด และบันทึกขอมูลโดยแบงชุด
                    ขอมูลออกตามปจจัยทางชีวภาพ และปจจัยทางกายภาพมีขั้นตอนดังน  ี้

                           1.การศึกษาปจจัยทางชีวภาพ
                                  1.1 ใหนิสิตสํารวจ และบันทึกสิ่งมีชีวิตที่พบในระบบนิเวศแหลงน้ํานั้น ทั้งบริเวณริม
                       ํ
                               ํ
                    ฝงน้า บนผิวน้า และในน้ํา บนทึกชนิด และปริมาณที่พบ (นอย ปานกลาง มาก)
                     
                                          ั
                                                      ้ํ
                                  1.2 ใหนิสิตสุมเหตัวอยางนาประมาณ 1 ลิตร ดวยขวดเก็บตวอยาง นํามาตรวจสอบ
                                                                               ั
                    หาสิ่งมีชีวิตกลุม แพลงกตอนพืช (phytoplankton) และแพลงกตอนสัตว (zooplankton)  สัตวไมมี
                                                                            
                                                                     
                    กระดูกสันหลัง (invertebrate) และสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
                                                                     ปฏิบัติการที่ 9 ระบบนิเวศ (Ecosystem)
   139   140   141   142   143   144   145   146   147   148   149