Page 65 - แผนพัฒนารัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2566-2570
P. 65
ี
ี
5 สามารถทำงานรวมกันได (Interoperability) บริการดิจิทัลของรัฐท่มีความเก่ยวของกัน
ตองไดรับการออกแบบใหสามารถทำงานรวมกันไดอยางราบรื่น ทั้งระหวางหนวยงาน
และระหวางฝายตางๆ ที่เกี่ยวของในองคกรเดียวกัน ผานแพลตฟอรม ระบบ โครงสราง
ื
ื
พ้นฐานดิจิทัล หรือเคร่องมือกลางสำหรับใชในกระบวนการสำคัญ (Microservices)
ื
ี
เชน การเช่อมโยงขอมูลผานศูนยกลางแลกเปล่ยนขอมูล (GDX) การตรวจสอบและ
ยืนยันตัวตนดวยระบบ Digital ID การชำระเงินผาน e-Payment การจัดเก็บขอมูลบน
ระบบคลาวดกลางภาครัฐ หรือ Government Data Center and Cloud service
(GDCC) เพื่อสงเสริมใหหนวยงานภาครัฐสามารถทำงานรวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ
และการเปดโอกาสใหสามารถทำงานรวมกับภาคเอกชนไดดวย
6 เปดกวางและโปรงใส (Open and Transparent) หนวยงานภาครัฐตองมีการแบงปน
ขอมูลระหวางกัน และเปดเผยขอมูลเปดภาครัฐโดยไมตองรองขอ และไมมีคาใชจาย
ึ
ซ่งประชาชนและภาคธุรกิจสามารถเขาถึงไดโดยงาย และเปนรูปแบบขอมูลเปดท่สามารถ
ี
ี
ื
นำไปใชไดสะดวกบนฐานของขอมูลเปดท่อานไดดวยเคร่อง (Machine Readable)
ู
ู
ั
ิ
ู
ี
่
ื
ผานศนยกลางขอมลเปดภาครฐ (Data.go.th) ทเปนเสมอนศูนยกลางการใหบรการขอมล
ดิจิทัลของภาครัฐ รวมถึงหนวยงานภาครัฐควรรวมมือกับประชาชนและภาคธุรกิจ
ื
เพอสงเสริมใหเกิดการมีสวนรวมในการออกแบบบริการของรัฐ ท่จะชวยสรางความโปรงใส
ี
่
และตรวจสอบการดำเนินงานของรัฐ ตลอดจนสรางการมีสวนรวมของทุกภาคสวน
ี
ื
7 ทักษะดิจิทัลของบุคลากรภาครัฐ (Digital Skill) มุงขับเคล่อนการเปล่ยนแปลงสูดิจิทัล
ของหนวยงาน โดยการปรับปรุงขอบเขตหนาท่และความรับผิดชอบ (Role Description)
ี
สําหรับตําแหนงดานดิจิทัลใหชัดเจน กำหนดเสนทางความกาวหนาในสายอาชีพ (Career
Path) ของตำแหนงงานดานดิจิทัล และการพัฒนาทักษะดิจิทัลรวมกับภาคเอกชน
ี
่
โดยอาศยการอบรมจากหลักสูตรและสถาบันของรัฐทไดมาตรฐาน ทงการจดอบรมผาน
ั
้
ั
ั
่
ี
ระบบออนไลนและออฟไลน ซ่งจะชวยใหหนวยงานมบคลากรทมีทกษะดิจิทลในตำแหนง
ั
ั
ึ
ี
ุ
ั
และวิชาชีพที่หลากหลายมากข้น แกปญหาการขาดแคลนบุคลากรดานดิจิทัล อีกท้ง
ึ
ควรพัฒนาทักษะดิจิทัลของเจาหนาที่รัฐไปสูระดับพื้นที่อยางทั่วถึง เพื่อกระจายการให
บริการดิจิทัลของรัฐไดอยางครอบคลุม
8 ขยายขีดความสามารถการใหบริการดิจิทัลของรัฐใหสามารถใชงานไดในระยะยาว
(Scale-up Public Services) ในชวงสถานการณ โควิด-19 มีบริการดิจิทัลของรัฐ
จำนวนมากเกิดขึ้น และมีปริมาณผูใชงานสูง จึงควรพัฒนาบริการดิจิทัลดังกลาวทั้งใน
ดานการพัฒนาเสนทางการใหบริการ (Journey) และโครงสรางพื้นฐานสำหรับรองรับ
ี
ั
การใหบริการท่จะขยายตัวตอไป ท้งในเชิงประสิทธิภาพและความม่นคงปลอดภัย อีกท้ง
ั
ั
ี
ประเด็นดานกฎหมายกฎระเบียบท่ตองปรับปรุงใหสอดรับกับบริบทการทำงานเชิงดิจิทัล
ื
ผานการประเมินความเหมาะสมของกฎหมาย เพ่อเพ่มความไววางใจและความคลองตัว
ิ
ในการบริหารงานและการใหบริการในระยะยาว
64